งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยิ่งมืด ยิ่งเย็น ยิ่งดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยิ่งมืด ยิ่งเย็น ยิ่งดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยิ่งมืด ยิ่งเย็น ยิ่งดี
ยิ่งมืด ยิ่งเย็น ยิ่งดี ภญ.กมลชนก เสมอคำ กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย

2 หัวข้อ รายการยากันแสง รายการยาแช่เย็น แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาแช่เย็น
1 รายการยาแช่เย็น 2 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาแช่เย็น 3 รายการยากันแสง 4 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยากันแสง 5

3 เพื่อรักษาคุณภาพยาในทุกขั้นตอน
การประกันคุณภาพยา บริษัทยา จัดซื้อ กระจายยา สำรองยา การสั่งใช้ยา บริหารยา ผู้ป่วย แนวทางปฏิบัติ ยากันแสง ยาแช่เย็น เพื่อรักษาคุณภาพยาในทุกขั้นตอน ของการบริหารจัดการยาในโรงพยาบาล

4 รายการยากันแสง

5 รายการยากันแสง การประกันคุณภาพยากันแสง การเก็บรักษายาบนชั้นวางยา
การส่งมอบยาให้กับผู้ป่วย ยกเว้น ภาชนะบรรจุยาเอื้อต่อการเก็บรักษา ampule สีชา: Adrenaline แผงทึบแสง: Digoxin, Alprazolam, Colchicine กล่องทึบแสง: Cisplatin, Ceftazidime, Metronidazole รูปแบบยาเอื้อต่อการเก็บรักษา film-coated/ sugar-coated tablet: Verapamil, MTV กล่องยา ขวดสีชา ถุงซิบสีชา

6 ตารางแสดงตัวอย่างรายการยากันแสง
ชื่อสามัญทางยา รูปแบบ วิธีการป้องกันแสง ลักษณะของ บรรจุภัณฑ์ จากบริษัท Acetylcysteine injection แอมพูลสีชา กล่องทึบแสงบรรจุหลายแอมพูล Acyclovir Tablet แผงทึบแสง กล่องทึบแสง Adenosine ถุงซิปสีชา Alphacalcidol Allopurinol ถุงซิบสีชา ขวดแก้วสีชา Amoxycillin + Clavulanic acid (500/125 mg) Amphotericin B Injection จ่ายทั้งกล่อง

7 รายการยาที่ต้องใส่ซองซิบสีชา
Acyclovir tab Adenosine inj. Allopurinol tab Aminophylline tab Bromocriptine tab Budesonide (Pulmocort®) NB Ceftazidime inj. Chlorpromazine tab Clomiphene tab Clonazepam tab Dapsone tab Desferoxamine inj. Dexamethasone inj. Diazepam tab Digoxin inj. Furosemide tab Glipizide tab Hydralazine tab Hydroxyzine tab Isoniazid tab Metoclopramide tab Naloxone inj. Ondansetron inj. Pancuronium inj. Phenytoin tab, cap, inj. Potassium chloride tab Prazosin tab Propranolol tab Pyrimethamine tab Rabies vaccine inj. Ritonavir cap Salbutamol tab SER-AP-ES tab Terbutaline tab, inj. Testosterone undecanoate tab (Andriol®) Vitamin A tab Vitamin C tab Vitamin B tab Vitamin E tab

8 รายการยากันแสง แต่ไม่ต้องใส่ซองกันแสง
รายการยากันแสง แต่ไม่ต้องใส่ซองกันแสง แผงทึบแสง Alphacalcidol Alprazolam Augmentin Amiodarone Amlodipine Atenolol Azathioprine Carbidopa + Levodopa (Sinemet®) Carvedilol Clarithromazine Clorazepate Colchicine Cotrimoxazole Digoxin Diltiazem Enalapril Ethambutol Isosorbide dinitrate Itraconazole HCTZ TWC® Metformin Methimazole Methotrexate Metronidazole Morphine Nifedipine Omeprazole Pentoxifylline Ranitidine Simvastatin Tamoxifen Thyroxine (Eltroxin®) Tripolidine + Pseudoephedrine (Actifed®) Warfarin

9 รายการยากันแสง แต่ไม่ต้องใส่ซองกันแสง
รายการยากันแสง แต่ไม่ต้องใส่ซองกันแสง Ampule สีชา Acetylcysteine inj. Adrenaline inj. BCG vaccine inj. Chlorpheniramine inj. Chlorpromazine inj. Cotrimoxazole inj. Diazepam inj. Furosemide inj. Haloperidol inj. Indomethacin inj. Leucovorin inj. Measle vaccine inj. Methergin® inj. Morphine inj. Nicardipine inj. Paracetamol inj. Proluton® inj. Pethidine inj. Ranitidine inj. Vitamin B complex inj. Vitamin B1 inj. Vitamin C inj. Vitamin K inj.

10 รายการยากันแสงที่ต้องจ่ายทั้งกล่อง
Amphotericin B inj. Amiodarone inj. Beractant inj. (Survanta®) Calcium folinate inj. (Leucovorin®) Carboplatin inj. Cefoperasone/sulbactam inj. Cefotaxime inj. Ceftriaxone inj. Cefuroxime inj. Cisatracurium inj. Cisplatin inj. Digoxin suspension Dobutamine inj. Epoetin alpha (EPREX®) inj. 5-FU inj. Fluphenazine decanoate inj. Glyceryl trinitrate inj. (Nitroglycerine) Omnipaque® inj. Ultravist® inj. Insulin (ชนิดต่าง ๆ) inj. Ketamine HCl inj. Levofloxacin inj. Methotrexate inj. Methylprednisolone inj. Metronidazole inj. Neostigmine inj. Norepinephrine inj. (Levophed®) Omeprazole inj. Propofol inj. Triamcinolone acetonide inj.

11 รายการยาแช่เย็น

12 คำถาม รายการวัคซีนใดในโรงพยาบาลที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่สูงขึ้น ? ทำไมต้องเก็บรักษาวัคซีนในตู้เย็น ? รายการวัคซีนใดที่ต้องเก็บรักษาที่อุณหภูมิ -20°C ถึง -10°C ? แนวทางการบริหารจัดการยาแช่เย็นกรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย ? แนวทางการบันทึกอุณหภูมิตู้เย็น ?

13 ประเภทของยาแช่เย็น อุณหภูมิที่ใช้เก็บรักษายา
ลำดับในการขนย้ายยากรณีไฟดับหรือตู้เย็นเสีย อันดับ 1: วัคซีน และยาแช่เย็นที่มีมูลค่าสูง อันดับ 2: ยาแช่เย็นที่ทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้ ปานกลาง อันดับ 3: ยาแช่เย็นที่สามารถเก็บที่อุณหภูมิ < 25°C หรือ ทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้สูง อุณหภูมิ การเก็บรักษา -20°C ถึง -10°C แช่แข็ง 2°C ถึง 8°C ในตู้เย็น < 25°C อุณหภูมิห้อง

14 วัคซีน: เคลื่อนย้ายอันดับ 1
Measle Vaccine inj. DTP Vaccine inj. Vaksin DTP BCG Vaccine inj. Japanese Encephalitis Vaccine inj. (JEV รูปแบบน้ำ) dT Vaccine inj. (Adult type) Tetanus Toxoid (TT) inj 0.5 ml/amp BIO-TT Tetanus antitoxin (TAT) 1,500 iu/amp inj. (Equine ) Hepatitis B Vaccine inj. (Hep-B ) Tetuman Human Anti-Hepatitis B Immunoglobulin inj. (HBIG ) Immunotib Human Tetanus Immunoglobulin inj. Tetagam Rabies Vaccine inj. Rabipur, PVRV Equine Rabies Immunoglobulin inj. (ERIG) 1,000 iu/vial Tres ERIG Human Anti-D Immunoglobulin inj. Influenza Vaccine inj. Antisnake venum inj. (งูเห่า งูแมวเซา งูจงอาง) Antisnake venum inj. (งูที่มีพิษต่อระบบประสาท) Purified Tuberculin test inj. Monotest ความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น

15 รายการยาแช่เย็น: เคลื่อนย้ายอันดับ 1
ชื่อการค้า 20% Albumin human inj. Human Albumin Human Recombinant Erythropoitin inj. 3,000 iu Eprex rh Erythropoietin inj. 4,000 iu Espogen Beractant inj. Survanta Prostaglandin-E1 inj. (PGE1) Prostin VR Streptokinase inj. Streptase Freeze-dried BCG inj. Immucyst เนื่องจากเป็นรายการยาที่มีมูลค่าสูง

16 รายการยาแช่เย็น: เคลื่อนย้ายอันดับ 2
Human regular Insulin 100 iu/ml Actrapid Humulin 70/ iu/ml Mixtard Hylan G-F 20 Synvinsc Insulin Monocomponent 100 iu/ml Insulatard, Gensulin Leucovorin solution inj. (50 mg/ 5 ml) Rescuvolin 20% Lipid inj. Propofol inj. Lipuro 1% Octreotide inj. Sandostatin Troponin-T test Trop T เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 2-8 °C 10% Amino acid inj. Aminoven Amoxycillin + Clavuranic acid inj. Augmentin, Amoxiclav Carboplatin inj. Neoplatin Desferroxamine 500 inj Desferal Dobutamine 250 mg inj Dobutrex Enoxaparin inj. Clexene Vecuronium bromide 4 mg inj Norcuron Heparin 5,000 u/ml in 5 ml Heparin Leo < 25 °C หรือ 2-8 °C เก็บรักษาที่อุณหภูมิ

17 รายการยาแช่เย็น: เคลื่อนย้ายอันดับ 3 เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 2-8 °C
Adrenaline inj. Amikacin Eye drop (HF) Amphotericin B (HF) Amphotericin B Eye drop Artesunate inj. Artesunate for inj. Bisacodyl Suppository Dulcolax Suppository Cefazolin Eye drop (HF) Cefuroxime Cisatracurium Nimbex Chloramphenicol Eye drop Chlor-oph Dexamethasone + Chloramphenicol + Tetrahydrozoline Eye drop CD-oph 0.5% Ephedine solution Enalapril suspension (HF) Furosemide suspension (HF)

18 รายการยาแช่เย็น: เคลื่อนย้ายอันดับ 3 เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 2-8 °C
0.5% Ephedine solution Enalapril suspension (HF) Furosemide suspension (HF) Heamorrhoidal Suppository Preparation Scheriproct,Doproct Kaletra solution Methylergometrine maleate inj. Methergin,Exopogin Magnesium chloride solution Nevirapine Syrup Oxytocin inj. Syntocin, Octocin Pancuronium bromide inj. Pavulon Phenylephrine HCl Eye drop Phosphate solution Ritonavir soft gelatin capsule Norvir Rocuronium bromide inj. Esmeron 0.3% Sodium bicarbonate Ear drop (HF)

19 รายการยาแช่เย็น: เคลื่อนย้ายอันดับ 3
เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 2-8 °C Marcaine spinal 0.5% isobaric MTV drop Protamine sulfate inj. เก็บรักษาที่อุณหภูมิ < 25 °C หรือ 2-8 °C Ascorbic acid inj Vit.C inj. Chloramphenicol Ear/Eye drop Chloramphenicol + dexamethasone (CD oph) Marcaine spinal 0.5% isobaric MTV drop Protamine sulfate inj.

20 แนวทางปฏิบัติในการเก็บรักษายาแช่เย็น
เพื่อให้สามารถคงสภาพ และประกันคุณภาพยาแช่เย็นและวัคซีน การเก็บรักษา ยาแช่เย็น และวัคซีนในตู้เย็น การเก็บรักษา ยาแช่เย็น และวัคซีน ในกล่องเก็บความเย็น การบริหารและ เก็บรักษาวัคซีน การจัดวาง เทอร์โมมิเตอร์ และวัดอุณหภูมิ

21 การเก็บรักษาวัคซีน วัคซีนที่อยู่ในรูปของผงแห้ง เช่น หัด และ MMR ต้องใช้น้ำยาละลาย (diluents) ของวัคซีนชนิดนั้น ๆ ก่อนจะนำ diluents มาละลายวัคซีนต้องเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 2-8 °C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าหลังจากผสมวัคซีนแล้วให้เก็บไว้ ในตู้เย็นอุณหภูมิ 2-8 °C จนถึงเวลาสิ้นสุดการให้บริการในวันนั้น หรือเก็บไว้ไม่เกิน 6 ชั่วโมง (แล้วแต่เวลาใดถึงก่อน) ยกเว้นวัคซีน BCG ที่ผลิตโดยสภากาชาดไทย แนะนำให้เก็บได้ ไม่เกิน 2 ชั่วโมง หลังจากผสมแล้วควรห่อด้วยกระดาษหรือ กระดาษฟอยล์ (foil) หรือใส่ไว้ในแผ่นโฟมใต้ฝากระติกเก็บ วัคซีน โดยไม่ให้ขวดวัคซีนเปียกหรือจุ่มในน้ำ

22 การเก็บรักษาวัคซีน วัคซีนชนิดน้ำ ได้แก่ DTP, dT และ TT เมื่อเปิดใช้แล้วยังเหลืออยู่ องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าสามารถเก็บในตู้เย็นอุณหภูมิ 2-8 °C ได้นาน 4 สัปดาห์ โดยมีการป้องกันไม่ให้เกิดการปนเปื้อน แต่แผนงานเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย แนะนำให้ เก็บวัคซีนชนิดน้ำที่ใช้กับเด็กและหญิงมีครรภ์ได้ไม่เกิน 8 ชั่วโมง หรือจนถึงเวลาสิ้นสุดการให้บริการในวันนั้น (ภายใน 24 ชั่วโมง) เท่านั้น หลังจากนั้นให้ทำลายวัคซีนที่เหลืออยู่ วัคซีน OPV ให้เก็บในช่องแช่แข็ง เมื่อนำออกมานอกช่องแช่แข็งแล้วละลายสามารถนำไปเก็บใน ช่องแข็งได้อีก 5-10 ครั้ง โดยไม่ทำให้คุณภาพเสียไป (กรณีที่ยัง ไม่เปิดใช้และ VVM (Vaccine Vial Monitor) ยังไม่เปลี่ยนสี)

23 การเก็บรักษายาแช่เย็นและวัคซีนในตู้เย็น
ไม่เก็บยาหรือวัคซีนใต้ช่องแช่แข็งและฝาตู้เย็น จัดเรียงยาแช่เย็นหรือวัคซีนเป็นแถว ๆ ห่างจากผนังตู้เย็น โดยให้มีช่องว่างระหว่างแถว เพื่อให้ความเย็นกระจายทั่วถึง จัดเรียงเป็นหมวดหมู่ แยกชนิดให้ชัดเจน โดยมีป้ายชื่อแสดงชื่อยา และใช้หลักการ First Expire First Out (FEFO) ต้องมี ice pack แช่แข็งในช่องแช่แข็งในปริมาณตามขนาดของตู้เย็น ไม่ควรนำอาหารและเครื่องดื่ม มาเก็บในตู้เย็น

24 ต้องมีน้ำใส่สีและเกลือ บรรจุในชั้นล่างหรือด้านข้าง
ของตู้เย็น เพื่อช่วยรักษาความเย็น เมื่อเปิดตู้เย็นหรือกรณีไฟดับ

25 ควรมีการตรวจสอบน้ำแข็ง ที่เกาะในช่องแช่แข็ง ต้องไม่หนาเกิน 5 mm
หากพบว่ามีน้ำแข็งเกาะหนาเกินกว่าที่กำหนดให้ปฏิบัติดังนี้ 1. กรณีตู้เย็นมีระบบละลายน้ำแข็งอัตโนมัติ หรือมีปุ่มกดปุ่มละลายน้ำแข็ง - เตรียมกล่องเก็บความเย็น ice pack และเทอร์โมมิเตอร์ - เคลื่อนย้ายยาแช่เย็นและวัคซีน อันดับ 1&2 ในกล่องเก็บความเย็น และให้ปฏิบัติตามแนวทางเมื่อไฟดับหรือตู้เย็นเสีย - เมื่อน้ำแข็งละลายหมดแล้วหรือตู้เย็นกลับมาทำงานปกติ ให้นำ เทอร์โมมิเตอร์มาใส่ไว้ตรงกลางของตู้เย็น และรอจนกว่าอุณหภูมิ ภายในตู้เย็น เท่ากับ 2-8 C จึงค่อยนำยากลับมาใส่ในตู้เย็น

26 ควรมีการตรวจสอบน้ำแข็ง ที่เกาะในช่องแช่แข็ง ต้องไม่หนาเกิน 5 mm
หากพบว่ามีน้ำแข็งเกาะหนาเกินกว่าที่กำหนดให้ปฏิบัติดังนี้ 2. กรณีตู้เย็นไม่มีปุ่มกดละลายน้ำแข็ง - เตรียมกล่องเก็บความเย็น ice pack และเทอร์โมมิเตอร์ - เคลื่อนย้ายยาแช่เย็นและวัคซีนทั้งหมดในตู้เย็นมาใส่ในกล่องเก็บ ความเย็น และให้ปฏิบัติตามแนวทางเมื่อไฟดับหรือตู้เย็นเสีย - ถอดปลั๊กและเปิดประตูตู้เย็น เพื่อให้น้ำแข็งละลายได้เร็วขึ้น - เมื่อน้ำแข็งละลายหมด ให้เสียบปลั๊กตู้เย็น แล้วรอจนกว่าอุณหภูมิ ภายในตู้เย็นจะเท่ากับ 2-8 C จึงค่อยนำยากลับมาใส่ในตู้เย็น

27 ดูแลสภาพขอบยางให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดีเสมอ
โดยใช้แผ่นกระดาษ A4 สอดที่บานประตูและปิดประตูให้สนิท จากนั้นออกแรงดึงกระดาษ ถ้าสามารถดึงออกมาได้ง่าย แสดงให้เห็นว่าขอบยาง อยู่ในสภาพเสื่อมแล้ว “สายตู้เย็นห้ามถอดปลั๊ก” วางตู้เย็นในบริเวณที่ไม่มีแสงแดดส่องถึง บนขาตั้ง และห่างจากฝาผนัง~ 6-12 นิ้ว

28 การเก็บรักษายาในกล่องเก็บความเย็น
อุปกรณ์ที่จำเป็น 1. กล่องเก็บความเย็น อย่างน้อย 1 อัน - อยู่ในสภาพพร้อมใช้ ไม่รั่วซึม 2. Ice pack อย่างน้อย 6 อัน - ขึ้นอยู่กับขนาดกล่องเก็บความเย็น - บรรจุน้ำหรือน้ำเกลือประมาณ ร้อยละ 90 ของปริมาตรบรรจุ หรือตามรอยเครื่องหมายที่กำหนด - วางในชั้นแช่แข็งแบบแนวตั้งบนขอบด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อให้น้ำแข็งตัวสม่ำเสมอ 3. เจลแช่เย็น

29 การจัดวางเทอร์โมมิเตอร์
จัดวางเทอร์โมมิเตอร์ไว้ที่ช่องกลางของตู้เย็น ควรตรวจสอบอุณหภูมิ โดยเปรียบเทียบกับเทอร์โมมิเตอร์ที่ผ่านการ ตรวจสอบความเที่ยง (calibrate) แล้ว อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

30 การบันทึกอุณหภูมิ บันทึกอุณหภูมิอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง
เวรเช้า จำนวน 2 ครั้ง เวลา 8.30 น. และ น. เวรบ่าย เวลา น. เวรดึก เวลา น. ทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ เซ็นต์ชื่อกำกับเสมอ

31 หากพบอุณหภูมิสูงเกินที่กำหนด
แนวทางในการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น คือ - ให้ค้นหาสาเหตุที่อาจเป็นไปได้ เช่น เพิ่งมีการเปิดตู้เย็น หรือตำแหน่งของตู้เย็นมีแสงแดดส่องถึง - ปล่อยทิ้งไว้ ~10 นาที - หากอุณหภูมิ > 8 °C ให้ปรับหมุนปุ่มทำความเย็นไป ด้าน cold มากขึ้น - หากอุณหภูมิ < 2 °C ให้ปรับหมุนปุ่มทำความเย็นไป ด้าน warm มากขึ้น - ติดต่อช่างไฟฟ้า (เบอร์โทรภายใน 237) หากไม่สามารถ แก้ไขได้ภายใน 1 ชั่วโมง ให้ปฏิบัติตามแนวทางเมื่อ ไฟดับหรือตู้เย็นเสีย

32 การขนส่งยาแช่เย็น (Cold Chain)
อุปกรณ์ที่จำเป็น 1. กล่องเก็บความเย็น อย่างน้อย 1 อัน 2. Ice pack อย่างน้อย 6 อัน - ก่อนนำ ice pack มาใส่ในกล่องยาแช่เย็น ต้องทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องจนเกิดเป็นเหงื่อก่อน 3. เจลแช่เย็น

33 แนวทางการขนส่งยาแช่เย็น (Cold Chain)
กรณีผู้ป่วยในที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล หรือระหว่างเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยหรือญาติมารับยาเอง ห้องยาจะจ่ายยาแช่เย็นหรือวัคซีน ไปพร้อมกับเจลแช่เย็น แนะนำผู้ป่วยหรือญาติให้รีบนำยา ดังกล่าวไปให้พยาบาล เพื่อบริหารยา หรือเก็บรักษายาต่อในตู้เย็น

34 แนวทางการขนส่งยาแช่เย็น (Cold Chain)
กรณีผู้ป่วยในที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล หรือระหว่างเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล กรณีเจ้าหน้าที่มารับยา ก่อนส่งมอบยาแช่เย็นให้กับหอผู้ป่วย ให้เจ้าหน้าที่ห้องยาจัดยาแช่เย็น ให้ตรงกับสติ๊กเกอร์ยา และให้เภสัชกร หรือเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้อง ของชนิดและจำนวนอีกครั้ง ก่อนใส่ลง ในกล่องยาแช่เย็นที่มี ice pack หรือ เจลแช่เย็น หรือเจล วางโดยรอบทั้ง 5 ด้าน หมายเหตุ: หากหอผู้ป่วยไม่ได้นำกล่องยาแช่เย็นพร้อม ice pack มารับยาแช่เย็น ห้องยาจะไม่จ่ายยาแช่เย็นให้

35 แนวทางการขนส่งยาแช่เย็น (Cold Chain)
กรณีผู้ป่วยกลับบ้านและผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยหรือห้องยาควรแจ้งกับผู้ป่วยหรือญาติให้เตรียมกระติกหรือ กล่องแช่เย็นในขนาดที่เพียงพอต่อการบรรจุยาแช่เย็น ห้องยาพิมพ์ข้อความว่า “ เก็บยาไว้ในตู้เย็น ” บนฉลากสติ๊กเกอร์ที่ติด ไปกับยาและให้คำแนะนำเรื่องการเก็บรักษายา

36 แนวทางปฏิบัติเมื่อไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย
แบ่งออกเป็น 1. กรณีทราบล่วงหน้าว่าไฟฟ้าดับไม่เกิน 1 ชั่วโมง หรือตู้เย็นเสียแต่คาดว่าจะสามารถแก้ไขได้ภายใน 1 ชั่วโมง 2. กรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสียนานมากกว่า 1 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 3 ชั่วโมง 3. กรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสียนานมากกว่า 3 ชั่วโมง

37 กรณีทราบล่วงหน้าว่าไฟฟ้าดับไม่เกิน 1 ชั่วโมง หรือตู้เย็นเสียแต่คาดว่าจะสามารถแก้ไขได้ภายใน 1 ชั่วโมง
ไม่ต้องเคลื่อนย้ายยาแช่เย็นหรือวัคซีน ออกนอกตู้เย็น ให้นำ ice pack ออกจากช่องแช่แข็ง มาวางไว้ที่ช่องกลางของตู้เย็นโดยรอบ ปิดประตูตู้เย็นให้สนิท ห้ามเปิดตู้เย็นจนกว่าไฟฟ้าจะมา หรือเปิดใช้เท่าที่จำเป็น

38 กรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย นานมากกว่า 1 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 3 ชั่วโมง
กรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย นานมากกว่า 1 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 3 ชั่วโมง เคลื่อนย้ายยาแช่เย็นและวัคซีน อันดับ 1 & 2 ไปไว้ที่กล่องเก็บความเย็น ที่มี ice pack วางไว้โดยรอบทั้ง 6 ด้าน ยาแช่เย็นและวัคซีน อันดับ 3 ให้เก็บใน ตู้เย็นต่อได้

39 การจัดวางยาแช่เย็นและ ice pack ในกล่องเก็บความเย็น
นำยาแช่เย็นหรือวัคซีนใส่ในภาชนะ หรือใช้กระดาษห่อ แล้วใส่ไว้ ตรงกลางของกล่องเก็บความเย็น วางเทอร์โมมิเตอร์ไว้ตรงกลางของกล่องเก็บความเย็นและปิดฝาให้สนิท ประมาณ 10 นาที ให้ตรวจสอบอุณหภูมิว่าอยู่ในช่วง 2-8 °C หรือไม่ หากพบว่าอุณหภูมิ > 8 °C ให้เพิ่มจำนวน ice pack โดยสามารถขอเพิ่มเติมได้ที่ งานคลังเวชภัณฑ์ และทำการทดสอบจนกว่าจะมี อุณหภูมิ เท่ากับ 2-8 °C

40 กรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย นานมากกว่า 3 ชั่วโมง
กรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย นานมากกว่า 3 ชั่วโมง ประสานงานกับเจ้าหน้าที่หรือเภสัชกร ณ ห้องจ่ายยาต่าง ๆ หรืองานคลังเวชภัณฑ์ว่าระบบไฟฟ้าหรือตู้เย็นปกติหรือไม่ - หากพบว่าตู้เย็นสามารถทำงานได้ตามปกติให้ดำเนินการ เคลื่อนย้ายยาแช่เย็นและวัคซีนทั้งหมดที่เก็บสำรองไว้ ตามมาตรฐานระบบ cold chain มาไว้ที่หน่วยงานต่าง ๆ ในเวลาราชการทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ -- ห้องจ่ายยาผู้ป่วยนอก ห้องจ่ายยาผู้ป่วยใน หรืองานคลังเวชภัณฑ์ นอกเวลาราชการ น. -- ห้องจ่ายยาผู้ป่วยนอก วันหยุดเสาร์ อาทิตย์ หรือวันหยุดนขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา น. -- ห้องจ่ายยาผู้ป่วยนอก ตั้งแต่เวลา น. ของทุกวัน -- ห้องจ่ายยาผู้ป่วยนอกเวลา

41 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt ยิ่งมืด ยิ่งเย็น ยิ่งดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google