งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การผลิตและใช้สื่อการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การผลิตและใช้สื่อการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การผลิตและใช้สื่อการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์
สุรพล บุญลือ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

2 การออกแบบและใช้สื่อในการนำเสนอ
1.การสื่อสาร 2.เทคโนโลยีการศึกษา 3.การเลือกสื่อ ASSURE Model 4.การออกแบบกราฟิก 5.การเตรียมการสอน 6.การผสมสื่อในโปรแกรม Powerpoint 7.การประยุกต์ใช้โปรแกรม Powerpoint ในงานเอกสารสิ่งพิมพ์ 8.การประยุกต์ใช้โปรแกรม Powerpoint ประกอบในงานนำเสนอ 9.การประยุกต์ใช้โปรแกรม Powerpoint ในงานนำเสนอแบบ Interactive 10.การประยุกต์ใช้โปรแกรม Powerpoint ในงานสื่อออนไลน์

3 ประโยชน์ของเทคโนโลยี
เกิดประสิทธิภาพ (Efficiency) เพิ่มผลผลิต (Productivity) เกิดการประหยัด(Economy)

4 เทคนิควิธีการ (Tick & Technique)
เทคโนโลยีการศึกษา วัสดุ (Material) อุปกรณ์ (Equipment) เทคนิควิธีการ (Tick & Technique)

5 BERLO = SMCR Model SMCR Source = ผู้ส่ง
= ผู้ส่ง => Decode เข้ารหัส ขึ้นอยู่กับทักษะในการสื่อสาร ทัศนคติ ระดับความรู้ ระดับสังคม และวัฒนธรรม Message = ข้อมูลข่าวสาร รหัสสาร เนื้อหาของสาร การจัดเรื่องราวของสาร Channel = ช่องทางในการส่ง ผ่านทางประสาทสัมผัส ผ่านสื่อที่มนุษย์สร้างขึ้น Receiver = ผู้รับ => Decode ขึ้นกับทักษะในการสื่อสาร ทัศนคติ ระดับความรู้ ระดับสังคมและวัฒนธรรม

6 รูปแบบการสื่อสารสองทาง
Sender Interpreter Receiver Receiver Interpreter Sender

7 รูปแบบการสื่อสารกับการเรียนรู้
Field of Experience Field of Experience Sender Encoder Signal Decode Receiver Noise แชรมม์

8 รูปแบบการสื่อสารกับการเรียนการสอน
Instructor Medium Message Learner Method

9 1. สื่อการสอนคืออะไร ? การสื่อสาร : ผู้ส่งสาร สาร ผู้รับสาร
ผู้ส่งสาร สาร ผู้รับสาร ผู้ส่งสาร สาร ช่องทาง ผู้รับสาร การเรียนการสอน: ผู้สอน ข้อมูล/เนื้อหา สื่อ ช่องทาง ผู้เรียน

10 2. ทำไมต้องใช้สื่อการสอน ?
1. เนื้อหามีความซับซ้อนเป็นนามธรรมยากต่อการทำความเข้าใจ 2. เรียนในสิ่งที่มีขนาดเล็กมากหรือไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 3. การสาธิตที่ต้องลงทุนสูง 4. การเรียนการสอนที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตราย 5. เหตุการณ์ในอดีตหรือเหตุการณ์สำคัญที่ไม่เกิดขึ้นบ่อยๆ 6. อื่นๆ

11 3. การเลือกสื่อการสอนทำอย่างไร ?
1. มีความเหมาะสมกับเนื้อหา 2. มีความเหมาะสมกับผู้เรียน ทั้งแบบรายบุคคล แบบกลุ่ม หรือแบบกลุ่มใหญ่ 3. มีความเหมาะสมกับสถานที่ 4. มีงบประมาณเพียงพอ 5. มีความเป็นไปได้ในการผลิต การใช้ และการประเมินผล

12 4. จะรู้ได้อย่างไรว่าสื่อที่ทำนั้นดี ?
ด้านเนื้อหา ผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.1 ทดลองรายคน 1.2 ทดลองกลุ่มเล็ก การทดลอง 1.3 ทดลองกลุ่มใหญ่

13 การวางแผนขั้นต้นในการใช้สื่อ
1. การเตรียมตัวเอง (Prepare Yourself) 2. การเตรียมสิ่งแวดล้อม (Prepare an Environment) 3. การเตรียมชั้นเรียน (Prepare the Class) 4. การใช้สื่อ (Use the Item) 5. การติดตามผล (Follow - up)

14 กรวยประสบการณ์ของ Edgar Dale
นามธรรม( Abstract ) ภาพ(Iconic) รูปธรรม( concrete ) การกระทำ(Enactive)

15 Continuum of realism in visuals.

16 Degree of realism

17 ID GAGNE กระบวนการ 9 ขั้น คือ
1.เร้าให้ผู้เรียนมีความตั้งใจ (Gaining Attention) = ทำให้สนใจ 2.แจ้งให้ผู้เรียนทราบจุดมุ่งหมาย(Informing the Learner of the Objective) = ให้ทราบวัตถุฯ 3.เร้าให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมก่อนเรียน(Stimulating recall of rerequisite) = เชื่อมโยงความรู้เดิม 4.เสนอวัสดุหรือสื่อการเรียนการสอน(Presenting the stimulus materials) = เสนอเนื้อหาใหม่

18 ID GAGNE กระบวนการ 9 ขั้น คือ
5.ชี้แนะเพื่อการเรียนรู้(Providing Learning guidance) = ชี้แนวทาง 6.ให้ผู้เรียนปฏิบัติ(Eliciting the Performance) = กระตุ้นตอบสนอง 7.ให้ข้อมูลย้อนกลับและเสริมแรง(Providing Feedback) = ให้ข้อมูลย้อนกลับ 8.ประเมินการปฏิบัติทันที(Assessing the Performance) = ประเมินผล 9.สนับสนุนการนำไปใช้และการจำ(Enhancing Retention and transfer) = ความจำ

19 แนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษาจะเป็นอย่างไร? ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ*
แนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษาจะเป็นอย่างไร? ผศ.ดร.ไพโรจน์  เบาใจ*                             การใช้  เทคนิค เดลฟาย (Delphi technique)  แสดงความคิดเห็นถึงแนวโน้มในอนาคตของเทคโนโลยีการศึกษาช่วงระยะปี ไว้ดังนี้คือ 1.  ศูนย์ทรัพยากรทางการเรียน (Learning resources center) 2.  ชุดสื่อการสอน (Media package) 3.  การปรับปรุงเครื่องมือประกอบการสอน (Improved media equiment)  4.  ใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้นจนเป็นเรื่องปรกติ (Increase utilizing computer) 5.  การผลิตสื่อจากท้องถิ่น (Local medias production)  6.  การเปลี่ยนแปลงสื่อสิ่งพิมพ์ (Printing media) 7.  การประสานเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานในและนอกประเทศจะมีมากขึ้น 8.  สื่อประเภทรายบุคคล (Individual media) 

20 การเลือกสื่อแบบ ASSURE Model
Analyze Learner Characteristic (วิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน) ลักษณะทั่วไป ลักษณะเฉพาะ สิ่งที่ต้องวิเคราะห์คือ ความรู้เดิม ทักษะเป้าหมาย ทักษะในการเรียน ทัศนคติ State Objective (กำหนดวัตถุประสงค์) การกระทำ = สิ่งที่ผู้เรียนจะสามารถกระทำได้ภายหลังจบบทเรียน เงื่อนไข = เป็นข้อจำกัดหรือเงื่อนไข เกณฑ์ = เป็นการตัดสินการกระทำว่าเป็นไปตามที่กำหนดไว้หรือไม่ Select, Modify, or Design Materials (การเลือก ดัดแปลง ออกแบบสื่อ สื่อที่มีอยู่แล้ว ดัดแปลงสื่อที่มีอยู่แล้ว ออกแบบสื่อใหม่

21 ASSURE Model Utilize Materials (การใช้สื่อ) ผู้สอนใช้ ผู้เรียนใช้
Require Learner Response (การกำหนดการตอบสนองของผู้เรียน) Evaluation (การประเมินผล) ประเมินกระบวนการสอน ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประเมินสื่อและวิธีการสอน

22 กฎ 3 ส่วนกับการออกแบบ 41 22 20 17

23 หลักการออกแบบ(Participle of Design)
1. ความสมดุลย์(Balance) 2. การเน้นจุดแห่งความสนใจ(Emphasis) 3.เอกภาพ(Unity) 4.จังหวะ(Rhythm) 5.ความเรียบง่าย(Simplicity)

24 การจัดองค์ประกอบ (Composition)
1.ความสมดุล (Balance) คือ ความเท่ากันหรือเท่าเทียมกันทั้งสองข้าง แบ่งออกเป็น สมดุลแบบทั้ง 2 ข้างเหมือนกัน (Symmetrical balance) ทั้งซ้ายขวาเหมือนกัน การสมดุลแบบนี้จะทำให้ดูมั่นคงหนักแน่น ยุติธรรม เช่น งานราชการ ใบวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร การถ่ายรูปติดบัตรเป็นต้น

25 การจัดองค์ประกอบ (Composition)
1. ความสมดุล (Balance) คือ ความเท่ากันหรือเท่าเทียมกันทั้งสองข้าง แบ่งออกเป็น สมดุลแบบ 2 ข้างไม่เหมือนกัน (Asymmetrical balance) ด้านซ้ายและขวาจะไม่เหมือนกัน แต่มองดูแล้วเท่ากันด้วยน้ำหนักทางสายตา เช่น สมดุลด้วยน้ำหนักและขนาดของรูปทรง ด้วยจุดสนใจ ด้วยจำนวนด้วยความแตกต่างของรายละเอียด ด้วยค่าความเข้ม-จางของสี เป็นต้น

26 การจัดองค์ประกอบ (Composition)
2. การเน้นให้เกิดจุดเด่น (Emphasis) ในการออกแบบจะประกอบด้วยจุดสำคัญหรือส่วนประธานในภาพ จุดรองลงมาหรือส่วนรองประธาน ส่วนประกอบหรือพวกรายละเอียดปลีกย่อย ต่างๆ หลักและวิธีในการใช้การเน้น - เน้นด้วยการใช้หลักเรื่อง Contrast - เน้นด้วยการประดับ - เน้นด้วยการจัดกลุ่มในส่วนที่ต้องการเน้น - เน้นด้วยการใช้สี - เน้นด้วยขนาด - เน้นด้วยการทำจุดรวมสายตา

27 การจัดองค์ประกอบ (Composition)
3. เอกภาพ (Unity) ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นกลุ่มเป็นก้อน โดยที่องค์ประกอบภายในต้องกลมกลืนกันมี 2 แบบคือ เอกภาพแบบหยุดนิ่ง (Static unity) โดยใช้รูปทรงเรขาคณิตทำให้เกิดลักษณะหนักแน่น เอกภาพแบบเคลื่อนไหว (Dynamic unity) ใช้รูปทรงหรือรูปร่างแบบธรรมชาติทำให้เคลื่อนไหวสนุกสนาน

28 การจัดองค์ประกอบ (Composition)
4.จังหวะ(Rhythm) จังหวะเกิดจากการต่อเนื่องกันหรือซ้ำซ้อนกัน จังหวะที่ดีทำให้ภาพดูสนุก เปรียบได้กับเสียงเพลงอันไพเราะ ในด้านการออกแบบแบ่ง จังหวะ เป็น 4 แบบ คือ 1.จังหวะแบบเหมือนกันซ้ำๆกัน 2.จังหวะสลับกันไปแบบคงที่ 3.จังหวะสลับกันไปแบบไม่คงที่ 4.จังหวะจากเล็กไปใหญ่หรือจากใหญ่ไปเล็ก

29 การจัดองค์ประกอบ (Composition) 5. ความเรียบง่าย(Simplicity)
เป็นการจัดให้ดูโล่ง สบายตา ไม่ยุ่งยากซับซ้อนมีมโนทัศน์เดียว ลดการมีฉากหลังหรือภาพประกอบอื่น ๆ ที่ไม่จำเป็นหรือไม่เกี่ยวข้องออกไป เพราะการมีฉากหลังรกทำให้ภาพหลักไม่เด่น นิยมใช้ในการถ่ายภาพที่ปรับฉากหลังให้เบลอ เป็นภาพเกี่ยวกับดอกไม้ แมลง สัตว์ และบุคคลนางแบบ เป็นต้น

30 การออกแบบงานนำเสนอ 1. ตัวอักษร (Text) 1.สีที่ใช้ไม่ควรเกิน 3 สี
2.ตัวอักษรประมาณ 6-8 ไม่ควรเกิน 10 บรรทัด 3.ตัวอักษรควรเป็นตัวที่มีความเท่ากันตลอดและมีหัวชัดเจน 4.ควรใช้ เพียงแต่หัวข้อเพื่อประกอบการบรรยาย 5.ความนำ กับเนื้อหาควรแยกจากกัน 6.ในแต่ละหน้า ควรมีเลขหน้า 7.ตัวอักษรและพื้นหลังควรมีสีตัดกัน 8.การเคลื่อนที่ของตัวอักษร ใช้เพื่อเน้นในเนื้อหาและไม่ควรใช้ ต่างกันมาก

31 2.ภาพที่ใช้ประกอบ (Image)
การออกแบบงานนำเสนอ 2.ภาพที่ใช้ประกอบ (Image) 1.เป็นภาพที่เกี่ยวข้อง หรือใช้ภาพเพื่อทำให้การบรรยายชัดขึ้น 2.ภาพมีขนาดไม่ใหญ่จนเกินไป 3. ภาพที่ใช้เพื่อ พักสายตา ไม่ควรเป็นภาพจริงควรเป็นภาพกราฟิก 4.หากนำภาพเพื่อมาเป็นพื้นหลังควรปรับให้จางลง 5.รูปร่างหรือภาพ ควรใช้การสร้างจากตัวโปรแกรมเอง 6.หากจำเป็นต้องนำเสนอหลายภาพ ควรใช้เทคนิคการเปลี่ยนภาพ จะดีกว่าการนำหลายภาพมานำเสนอพร้อมกัน

32 3.สื่อที่ใช้ประกอบ (media)
การออกแบบงานนำเสนอ การออกแบบงานนำเสนอ 3.สื่อที่ใช้ประกอบ (media) 1.สื่อที่ใช้ควรจะช่วย ให้การนำเสนอชัดเจนขึ้น 2.สื่อที่ใช้มีขนาดไม่ใหญ่จนเกินไป 3.ควรทดสอบก่อนทุกครั้ง ทั้งส่วนของการเชื่อมโยงและการนำเสนอ 4.สื่อควรเป็นเนื้อหาที่สั้น และกระชับ 5.ควรทำปุ่ม หรือสัญลักษณ์เพื่อเลือกใช้หรือไม่ใช้ได้ 6. ไม่ควรใช้ หากไม่จำเป็น

33 หลักการในการออกแบบการสอน(สาร)โดยทั่วไปประกอบด้วย
5.การเตรียมการสอน หลักการในการออกแบบการสอน(สาร)โดยทั่วไปประกอบด้วย 1. การเตรียมผู้เรียนเพื่อให้เกิดความพร้อม 2. การชี้แนะให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ 3. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม 4. การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน 5. การให้ผู้เรียนได้กระทำหรือฝึกหัด

34 หลักการในการออกแบบการสอนโดยทั่วไปประกอบด้วย
5.การเตรียมการสอน 5.การเตรียมการสอน หลักการในการออกแบบการสอนโดยทั่วไปประกอบด้วย การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ผู้เรียนจะจำได้เพียง 10% จากสิ่งที่ได้ยิน 20% จากสิ่งที่ได้อ่าน 70% จากสิ่งที่ลงมือทำ(Knirt and Gustafson ) การที่ผู้เรียนได้ลงมือทำหรือเรียนด้วยตนเอง ภายใต้การชี้แนะของผู้สอน ผู้เรียนจะมีโอกาสมากในการปรับปรุงแก้ไขการเรียนของตนเอง โดยอาศัย ข้อมูลย้อนกลับ ที่ได้รับจากผู้สอนและสื่อต่างๆ ที่ใช้ในการเรียนการสอน เมื่อบรรลุจุดมุ่งหมายการเรียนแล้ว ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกหัดหรือกระทำซ้ำอยู่เสมอ ภายใต้สภาพแวดล้อมต่างๆ กันออกไป ป้องกันการลืมได้อีกด้วย

35 เทคนิคการนำเสนอหน้าชั้นเรียน

36 เทคนิคการนำเสนอหน้าชั้นเรียน

37 เทคนิคการนำเสนอหน้าชั้นเรียน

38 เทคนิคการนำเสนอหน้าชั้นเรียน

39 เทคนิคการนำเสนอหน้าชั้นเรียน

40 หลักการในการเลือกเครื่องมือ
1.คอมพิวเตอร์ Mac PC - Note Book 2.Vitualization Presenter 3.Media Player VCD, DVD, VTR, Camera, TV 4.เครื่องฉายภาพ Data Projector Type – LCD DLP Brightness ansi lumen Resolution VGA SGA XGA Sound Watt Data input Video Computer Media Reader

41 6.การใช้โปรแกรม PowerPoint
1.ตัวอักษร Word Excel Text Editor Html Word Art 2.ภาพนิ่ง --.JPG,--.wmf 3.ภาพเคลื่อนไหว--.Gif 4.ภาพยนตร์ --.AVI,--.Wmv 5.เสียง --.wav --.MP3 --.wma --.Midi 6.กราฟและตาราง Graph&Table

42 การแทรกสื่อต่างๆในโปรแกรม PowerPoint
1.ให้เลือกที่ แทรก(Insert) 2.เลือกสื่อที่ต้องการ 3.แจ้งที่มาของสื่อ 4.ปรับแต่งตำแหน่งที่ต้องการ 5.กำหนดวิธีการแสดงสื่อต่างๆ

43 การจัดลักษณะเคลื่อนไหวใน โปรแกรม PowerPoint
1.ให้เลือกที่ชิ้นงานที่ต้องการให้เกิดการเคลื่อนไหว 2.เลือกนำเสนอภาพนิ่ง ไปยังการเคลื่อนไหว ที่กำหนดเอง 3.เลือกลักษณะการเคลื่อนไหว 4.ปรับแต่งตามที่ต้องการ 5.ทดสอบการเคลื่อนไหวต่างๆ

44 การตั้งค่าการกระทำในโปรแกรม PowerPoint
1.ให้เลือกที่ชิ้นงานที่ต้องการให้เกิดคำสั่งในการกระทำ 2.เมื่อคลิกเม้าส์ ให้เกิดการกระทำใด เช่น เชื่อมไปยังสไลด์ อื่น หรือที่อื่นๆ เช่นเว็บไซต์ 3.เลือกให้เชื่อมโยงไปยังโปรแกรมที่ต้องการได้ เช่นเครื่องคิดเลข 4.เล่นเสียง ต่างที่ต้องการได้ 5.ในอีกส่วนหนึ่งเป็นการกระทำเมื่อเมาส์ อยู่เหนือ เครื่องคิดเลข

45 7.การประยุกต์ใช้โปรแกรม PowerPoint ในงานเอกสารสิ่งพิมพ์
1.สามารถออกแบบงานด้วยโปรแกรม แล้วไปทำเป็นสิ่งพิมพ์อื่นได้ เช่น แผ่นใส, โปสเตอร์, ป้ายประกาศ หรือเอกสารประกอบการสัมมนาได้ 2.ใช้คำสั่งในการพิมพ์ แล้วเลือกเป็นเอกสารประกอบ การบรรยาย

46 8.การประยุกต์ใช้โปรแกรม PowerPoint ประกอบในงานนำเสนอ
1.สามารถสร้างสรรค์งานเพื่อประกอบในการนำเสนอ โดยผู้นำเสนอเป็นผู้ใช้ประกอบการบรรยาย 2.หรือจะใช้แบบไม่ต้องมีผู้บรรยายก็ได้ โดยใช้การตั้งเวลาพร้อมบันทึกเสียง 3.สามารถใช้เป็นตู้นำเสนอข้อมูล (Kiosk)ได้ โดยใช้ปุ่มเข้ามาเป็นตัวกำหนดการเชื่อมโยง

47 9.การประยุกต์ใช้โปรแกรม PowerPoint ในงานสื่อออนไลน์
1.สามารถสร้างงานเพื่อนำเสนอในอินเทอร์เน็ตได้ เป็นลักษณะของการนำเสนอทางไกลได้ 2. นำข้อมูลส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย(Server)

48 พัฒนาการของสื่อคอมพิวเตอร์
Wireless Delivery & Management Game-simulation Intergrated Content/LMSs Synchronous CD-Rom Media PC- Based Stand - alone Solfware Client – server network Internet Intranet Wireless Network

49 การประยุกต์PowerPoint กับ e-Learning/e-Education
Dynamic (Flexible) Classroom on demand Sharable Content Web Based Presentation Simple Content Complex Content Presentation Kiosk eBook CAI, CBT Print Media Static

50 การสร้างสื่อออนไลน์ e-Learning ด้วยโปรแกรม
Microsoft® Producer

51

52

53 Capture video Capture *.avi file format audio Capture

54

55 synchronize media elements into customizable, rich-media presentations

56 Video Effects and Transitions

57 Mini-Studio Overview

58 บรรณานุกรม กิดานันท์ มลิทอง "เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย" กรุงเทพมหานคร, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2540. ชม ภูมิภาค. เทคโนโลยีทางการสอนและการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ประสานมิตร. 2526 ชัยยงค์ พรหมวงศ์. “กระบวนการสันนิเวทนาการและระบบสื่อการสอน“ เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา หน่วยที่ 1 – 5 . หน้า 112, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2529. ไชยยศ เรืองสุวรรณ.. เทคโนโลยีทางการศึกษา : หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, เปรื่อง กุมุท. การวิจัยสื่อและนวกรรมการสอน. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, อัดสำเนา. ลัดดา ศุขปรีดี. เทคโนโลยีการเรียนการสอน กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2532. คณาจารย์ภาควิชาโสตทัศนศึกษา.AV303 โสตทัศนศึกษา.กรุงเทพ.รามคำแหง,2531


ดาวน์โหลด ppt การผลิตและใช้สื่อการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google