งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัยแห่งอนาคต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัยแห่งอนาคต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัยแห่งอนาคต
MAHIDOL UNIVERSITY Wisdom of the Land การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัยแห่งอนาคต วิจารณ์ พานิช บรรยายพิเศษ ที่มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ วันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๑

2 ใน ๒๐ ปีข้างหน้า อุดมศึกษา ไทย/โลก จะเปลี่ยนแปลงไปมากมาย อย่างไม่น่าเชื่อ และไม่มีใครรู้ว่าจะเปลี่ยนไปเป็นอย่างไร จึงเป็น โอกาส ที่จะใช้ความริเริ่มสร้างสรรค์ได้อย่างไม่จำกัด และเป็น threat ต่อมหาวิทยาลัยที่ innovate ไม่เป็น

3 นำเสนอแบบ ผู้ไม่รู้ ตั้งคำถาม ชวนจินตนาการ ชวนเสวนา / สุนทรียสนทนา

4 มฉก. ใน ๒๐ ปีข้างหน้า

5 อะไรบ้างที่อาจเปลี่ยนแปลงไป
สังคม สภาพแวดล้อม นักศึกษา นศ. คือใคร ระบบอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษา อาจารย์ ความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ – นักศึกษา การจัดการสถาบันอุดมศึกษา

6 สังคม สภาพแวดล้อม More connected Mobility of people / students
People need De-Learn & Re-Learn Some knowledge concentrates at the workplace, esp. K on Application Contents are widely available New meaning of Learning / Teaching / L Facilitation

7 New Meaning of Learning
Learning Content / What Learning Meaning & Value / Why & For What Learning How to Apply Knowledge / K Translation Learning How to Learn Learning How to Create L How to Act / Apply / Implement

8 New Meaning of Learning
Learning Content / What Learning Meaning & Value / Why & For What Learning How to Apply Knowledge / K Translation Learning How to Learn Learning How to Create L How to Act / Apply / Implement L How to Inspire (self & others)

9 New Meaning of Learning (2)
Knowledge Skill Attitude

10 New Meaning of Learning (2)
Knowledge Skill Attitude Spiritual

11 New Meaning of Learning (2)
Knowledge Skill Attitude Spiritual จัดการเรียนรู้อย่างไร ให้เกิดการเรียนรู้บูรณาการ ศาสตร์การเรียนรู้/"สอน" ในสังคมไทย

12 มหาฯ จะดูแล นศ. ที่แตกต่างกัน อย่างไร หรือจะมุ่งรับ นศ. เฉพาะบางกลุ่ม
นักศึกษาเปลี่ยนไป? ต่างชาติ? นศ. ผู้ใหญ่? High Motivation but Low Learning Ability ผู้ใหญ่ ที่ต้องการเรียนบางเรื่อง – Short Course & Certificate นศ. พื้นฐานอ่อนมาก? นศ. สมาธิสั้น นศ. ที่ไม่เรียนแต่ต้องการปริญญา นศ. อัจฉริยะ นศ. บัณฑิตศึกษา มหาฯ จะดูแล นศ. ที่แตกต่างกัน อย่างไร หรือจะมุ่งรับ นศ. เฉพาะบางกลุ่ม

13 ชั้นเรียนเปลี่ยนไป? หลายกลุ่มอายุ หลายประสบการณ์ชีวิต
สิ่งที่บรรยายเปลี่ยนไป วิธีเรียนเปลี่ยนไป – CBL มากขึ้น วิธีเรียนต่างกัน : Research U, Coll of Art & Sci, Professional U, Technical U

14 ใช้ชั้นเรียน inspire เด็ก ได้หรือไม่ / อย่างไร
ชั้นเรียนเปลี่ยนไป? หลายกลุ่มอายุ หลายประสบการณ์ชีวิต สิ่งที่บรรยายเปลี่ยนไป วิธีเรียนเปลี่ยนไป – CBL มากขึ้น วิธีเรียนต่างกัน : Research U, Coll of Art & Sci, Professional U, Technical U ใช้ชั้นเรียน inspire เด็ก ได้หรือไม่ / อย่างไร

15 มฉก. เน้น นศ. แบบไหน นศ. คือใคร? ผู้มาดูดซับวิชา
ผู้มาสังคม เล่นกีฬา ดนตรี หาเพื่อน หาแฟน เพื่อเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย … (สี) ผู้มาเอากระดาษ ผู้มาเรียนวิชาชีพ/เตรียมเข้าสู่อาชีพ ผู้มาเรียนรู้สร้างเสริมบุคลิก และปัญญาเพื่อเป็น “วิญญูชน” เรียนศิลปศาสตร์ เพื่อสู่ “ระดับ ๖” ผู้มาเริ่มต้นชีวิตบนถนนสายนักวิชาการ ผู้สร้างสรรค์ หลักสูตรวิจัย มาเพิ่มทฤษฎี สำหรับเอาไปใช้เปลี่ยน/เสริมชีวิต

16 มฉก. เป็นแหล่งสร้าง ม. ๖ หรือไม่ อย่างไร
มนุษย์ระดับ ๖ Lawrence Kohlberg : Six Levels of Moral Development ทำ/ไม่ทำ เพราะ กลัว อยากได้รางวัล เอาใจคน กติกา ได้ชื่อเสียง อุดมการณ์ ไม่ต้องการให้คนรู้ มฉก. เป็นแหล่งสร้าง ม. ๖ หรือไม่ อย่างไร

17 ระบบอุดมศึกษา? ที่นั่งเรียน >> จำนวนผู้เข้าเรียน
สถาบันแตกต่างกันมาก กำลังจัดกลุ่ม สร้างจุดแข็ง Globalization / Localization Collaboration / Networking Competition : Students & Staffs Mobility Rating / Ranking (Rate อะไร อย่างไร)

18 เชื่อมโยงสู่ระบบอื่นๆ อย่างไร
ระบบอุดมศึกษา? ที่นั่งเรียน >> จำนวนผู้เข้าเรียน สถาบันแตกต่างกันมาก กำลังจัดกลุ่ม สร้างจุดแข็ง Globalization / Localization Collaboration / Networking Competition : Students & Staffs Mobility Rating / Ranking (Rate อะไร อย่างไร) เชื่อมโยงสู่ระบบอื่นๆ อย่างไร Drive Change

19 การจัดการระบบอุดมศึกษา?
ประเมิน / Rating / Ranking  บอกสังคม ระบบ High Ed Finance โดยรัฐ - สร้างนักวิจัยชั้นยอด : Scholarship - เรียนเพื่อเป็นวิญญูชน : จ่ายเอง - เรียนเพื่อเข้าสู่อาชีพ : กู้เรียน, เรียนไป ทำงานไป - เรียนเทคนิคเฉพาะด้าน : ได้เงิน จัดการเพื่อดึงดูด Best Brain : ใน & นอก ประเทศ QUALITY > quantity

20 การจัดการระบบอุดมศึกษา?
ประเมิน / Rating / Ranking  บอกสังคม ระบบ High Ed Finance โดยรัฐ - สร้างนักวิจัยชั้นยอด : Scholarship - เรียนเพื่อเป็นวิญญูชน : จ่ายเอง - เรียนเพื่อเข้าสู่อาชีพ : กู้เรียน, เรียนไป ทำงานไป - เรียนเทคนิคเฉพาะด้าน : ได้เงิน จัดการเพื่อดึงดูด Best Brain : ใน & นอก ประเทศ จัดการระบบอย่างไรให้ได้คุณภาพ/ความเป็นเลิศที่แตกต่าง QUALITY > quantity

21 สถาบันอุดมศึกษา มีกลุ่มที่ ๕,๖, … ไหม Differentiate & Focus
๔ กลุ่ม เป็นเลิศคนละแบบ Networking - ใน & นอก ประเทศ - ภาคการศึกษา & Real Sector - ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย & innovative - อื่นๆ แข่งขันแย่งทรัพยากร - นศ. / อจ. / แหล่งฝึก - ปัญหา / ทุน วิจัย - งานบริการ มีกลุ่มที่ ๕,๖, … ไหม Differentiate & Focus

22 อาจารย์ คือใคร ทำหน้าที่อะไรบ้าง การพัฒนาอาจารย์ทำอย่างไร
Career Path เป็นอย่างไร จาก Worker สู่ Academic ได้ไหม อย่างไร อาจารย์ที่วิจัย & motivate หรือสร้าง ม. ๖ เก่งมาก ง/ด แพงกว่าอธิการบดีได้ไหม อาจารย์ที่มหาวิทยาลัยเสาะหา มีกี่แบบ มาจากไหน จริยธรรมของอาจารย์ ทักษะ/คุณภาพ/อุดมการณ์/ความสุข ของอาจารย์

23 ความสัมพันธ์ระหว่างอจ. – นศ.
ผู้สอน ผู้ร่วมเรียนรู้ Facilitator Mentor / Motivator เพื่อน / พี่ / น้อง นศ. อาจารย์ ผู้ร่วมเดินทาง สู่ ม. ๖ ฯลฯ

24 การจัดการสถาบันอุดมศึกษา
ใช้ Business Model มากขึ้น : Efficacy & Efficiency ยุทธศาสตร์ Differentiation Selected Excellence ?Participatory มองจากมุมอาจารย์ อาจารย์ vs. ลูกจ้าง สั่งได้แค่ไหน ?ลูกค้า vs. ลูกศิษย์ ความพึงพอใจ?

25 การจัดการสถาบันอุดมศึกษา
ใช้ Business Model มากขึ้น : Efficacy & Efficiency ยุทธศาสตร์ Differentiation Selected Excellence ?Participatory มองจากมุมอาจารย์ อาจารย์ vs. ลูกจ้าง สั่งได้แค่ไหน ?ลูกค้า vs. ลูกศิษย์ ความพึงพอใจ? วิชาชีพผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา

26 อะไรบ้างที่อาจเปลี่ยนแปลงไป (๒)
ICT ความรู้ การสร้างความรู้ ห้องเรียน E-Learning Sandwich Learning การเรียน – การสร้างความรู้ – การประยุกต์ใช้ความรู้ ความเชื่อมโยงกับ Real Sector การสอบ

27 ICT Content : available any time, anywhere Distributive sources
Data/Garbage >> Information >> Knowledge >> Wisdom >> Level 6 Moral Development Consumers >> Producers Short attention span Special Social/Learning Networks

28 ความรู้ 2 ยุค ยุคที่ 1 ยุคที่ 2 โดยนักวิชาการ ค. เฉพาะสาขา
เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ เป็นวิทยาศาสตร์ ค. เฉพาะสาขา เน้น explicit K ยุคที่ 2 โดยผู้ปฏิบัติ เน้นประสบการณ์ตรง เน้นผลลัพธ์ที่งาน คน ค. บูรณาการ เน้น tacit K เสริมกัน วิจัย KM

29 ต้องรู้จักใช้ ค. ทั้งสองประเภท อย่างสมดุล
ความรู้ 2 ประเภท ค. ในคน Tacit K อยู่ในสมองคน เชื่อมโยงกับประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้ทั้งหมด context - specific ค. ในกระดาษ Explicit/Codified K อยู่ในตำรา เอกสาร วารสาร คู่มือ คำอธิบาย วีซีดี คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูล. context - free ต้องรู้จักใช้ ค. ทั้งสองประเภท อย่างสมดุล ค. เป็นทั้ง TK & EK

30

31 การสร้างความรู้ ๒ แนว วิจัย จค. ปัญหา ความ สำเร็จ ความรู้

32 จากความรู้ปฏิบัติ สู่ความรู้เชิงทฤษฎี
R R KM ปัญหา EK TK ความสำเร็จ ในหลายบริบท R data ใช้ทฤษฎีเข้าจับ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็น generic knowledge

33 ตัวอย่าง : โรงเรียนชาวนา
นักวิจัย EK TK ผลิตข้าวปลอดสารพิษ ลปรร. data collection, analysis, synthesis capture, apply, share, store, leverage, etc.

34 ห้องเรียน ส่วนหนึ่งเรียนที่บ้าน เลี้ยงลูกไปด้วย
ส่วนหนึ่งเรียนในที่ทำงาน ใช้งานเป็น CBL ส่วนหนึ่งผ่าน e-Learning ไปเรียน Bahasa Indonesia ที่อินโดนีเซีย 3 เดือน ห้องเรียนในมหาวิทยาลัยเปลี่ยนไปอย่างไร เป็นที่ inspire? เป็นที่ share การตีความ? เป็นที่สร้าง ม. ๖? เป็นที่เรียนวิธีเรียนรู้ ฝึกทักษะเรียนรู้ ทั้ง EK & TK

35 ห้องเรียน ไม่มีใครรู้ว่าห้องเรียนใน ๒๐ ปีข้างหน้าเป็นอย่างไร
ส่วนหนึ่งเรียนที่บ้าน เลี้ยงลูกไปด้วย ส่วนหนึ่งเรียนในที่ทำงาน ใช้งานเป็น CBL ส่วนหนึ่งผ่าน e-Learning ไปเรียน Bahasa Indonesia ที่อินโดนีเซีย 3 เดือน ห้องเรียนในมหาวิทยาลัยเปลี่ยนไปอย่างไร เป็นที่ inspire? เป็นที่ share การตีความ? เป็นที่สร้าง ม. ๖? เป็นที่เรียนวิธีเรียนรู้ ฝึกทักษะเรียนรู้ ทั้ง EK & TK ไม่มีใครรู้ว่าห้องเรียนใน ๒๐ ปีข้างหน้าเป็นอย่างไร จึงเป็นโอกาสที่จะพัฒนา

36 e-Learning เวลานี้เป็นอย่างไร ต่อไปจะเป็นอย่างไรได้บ้าง พลัง digital
เวลานี้เป็นอย่างไร ต่อไปจะเป็นอย่างไรได้บ้าง พลัง digital Content ที่ช่วยการเรียนรู้ สู่ … ม. ๖ e-Learning ที่ช่วยคนเรียนช้า คนมีจุดอ่อนในการเรียน e-Learning ที่ใช้ multimedia มากยิ่งขึ้น e-Learning ที่ให้โอกาส เพื่อนช่วยเพื่อน โอกาส นศ. เป็นผู้ ลปรร. โอกาสเรียนรู้จากการปฏิบัติ เรียน TK โอกาสเรียน attitude, จิตวิญญาณ

37 Sandwich Learning เพื่อเป็น Global Citizen
เรียนภาษา วัฒนธรรม รักเพื่อนมนุษย์ที่แตกต่าง เรียนประสบการณ์ชีวิต เรียนศาสตร์จากหลากหลายมุมมอง มีเครือข่าย/มิตร ที่กว้างขวาง SL เป็นเครื่องมือ Globalize มฉก.? SL/G ของ มฉก. เป็นกลไก G ของ ปทท.

38 โอกาสสร้าง SL ที่แตกต่าง เป็นของแท้
Sandwich Learning เพื่อเป็น Global Citizen เรียนภาษา วัฒนธรรม รักเพื่อนมนุษย์ที่แตกต่าง เรียนประสบการณ์ชีวิต เรียนศาสตร์จากหลากหลายมุมมอง มีเครือข่าย/มิตร ที่กว้างขวาง SL เป็นเครื่องมือ Globalize มฉก.? SL/G ของ มฉก. เป็นกลไก G ของ ปทท. โอกาสสร้าง SL ที่แตกต่าง เป็นของแท้

39 การเรียนรู้

40 วิธีการเรียนรู้ เรียนรู้โดยการฟังบรรยาย บอกสาระในตำรา
เรียนรู้โดยการฟังบรรยาย บอกสาระจากประสบการณ์ตรง CBL เรียนรู้จากการปฏิบัติ Project Learning เรียนจากการร่วมกัน “ปีนเขาหิมาลัย” เพื่อเรียนรู้ทุกวิชาอย่างบูรณาการ

41 วิธีออกแบบการเรียนรู้
Rafe Esquith. Teach Like Your Hair's on Fire : The Methods and Madness Inside Room 56. Penguin Books, 2007 สำหรับเด็ก ป. ๕ “The Hobart Shakespeareans” ?สำหรับ นศ. มฉก. ที่แตกต่าง และเล่าลือ

42 เรียนรู้อะไร เรียนรู้ “ขยะ” ดูดซับ “สารพิษ” ทำร้ายตนเอง
หยิบยื่น “สารพิษ” ทำร้ายนักศึกษา ขยาย “หน่อพิษ” ภายในตน ออกไปทำร้ายตนเอง & โลก ยิ่งเรียน ยิ่ง “โง่” ยิ่งดิ่งสู่ “อเวจี” โดยเชื่อว่ากำลังไต่บันไดชีวิต เรียนรู้ “ชีวิตที่แท้” vs. “ชีวิตมายา”

43 การเรียนรู้ใน มฉก. ทวนกระแส? อุดมศึกษาทางเลือก? ตามกระแส อยู่ในกระแส
มีหลายกระแสอยู่ร่วมกันภายใน มฉก. “ป่าแห่งการเรียนรู้” เป็นที่อยู่แห่ง “พรรณพฤกษ์” ที่หลากหลาย เป็น “ระบบนิเวศ” อุดมศึกษา เป็น “ผืนดิน” ให้ “หน่ออ่อน” หลากชนิดได้งอก งาม และทำหน้าที่ citizen (สมาชิก) ของระบบนิเวศ

44 ความเชื่อมโยงกับ Real Sector
วิจัย ผลิตกำลังคนสนองตอบความต้องการ Human Resource Management บริการวิชาการ ชี้นำสังคม เชิงคุณค่า คุณธรรม เทคนิค

45 การสอบ คืออะไร สนองมหาฯ / อจ. / ผู้เรียน
การสอบที่ เป็นคุณ vs. เป็นโทษ ต่อการเรียนรู้ ทำให้เกิดการเรียนรู้ปลอม Empowerment Evaluation “การสอบ” ที่บูรณาการ/แนบแน่น อยู่กับกระบวนการเรียนรู้

46 รายงานแบบตัดปะ - Plagiarism
การสอบ คืออะไร สนองมหาฯ / อจ. / ผู้เรียน การสอบที่ เป็นคุณ vs. เป็นโทษ ต่อการเรียนรู้ ทำให้เกิดการเรียนรู้ปลอม Empowerment Evaluation “การสอบ” ที่บูรณาการ/แนบแน่น อยู่กับกระบวนการเรียนรู้ รายงานแบบตัดปะ - Plagiarism

47 การสอบที่สร้างคนไร้จริยธรรม
คืออะไร สนองมหาฯ / อจ. / ผู้เรียน การสอบที่ เป็นคุณ vs. เป็นโทษ ต่อการเรียนรู้ ทำให้เกิดการเรียนรู้ปลอม Empowerment Evaluation “การสอบ” ที่บูรณาการ/แนบแน่น อยู่กับกระบวนการเรียนรู้ การสอบที่สร้างคนไร้จริยธรรม

48 การประเมิน ประเมินเพื่อประเมิน ประเมินเฟ้อ
ประเมินเพื่อประเมิน ประเมินเฟ้อ ทำงานเพื่อให้ผ่านการประเมิน “ม. ๑ – ๕” ประเมินเพื่อพัฒนา : Summative & Formative Eval. ประเมินแบบ KM หา SS เพื่อเรียนรู้โดย SSS AAR : การประเมินแบบอิสระ ไม่มีถูกไม่มีผิด ประเมินเพื่อชีวิต

49

50 มหาวิทยาลัยแห่งคุณค่า
มฉก. มหาวิทยาลัยแห่งคุณค่า มหาวิทยาลัยแห่งการสร้างคุณค่า ชุมชนแห่งการสร้างคุณค่า/ศรัทธา


ดาวน์โหลด ppt การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัยแห่งอนาคต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google