งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”

2 เครื่องมือดักจับความรู้หลังการปฏิบัติ “After Action Review (AAR)”
หมายถึง เครื่องมือถอดบทเรียน หรือองค์ความรู้ เป็นการรวบรวมบทเรียนที่ได้จากการปฏิบัติ บางคนเรียกว่า เครื่องมือวิเคราะห์หลังปฏิบัติ การทบทวนหลังปฏิบัติงาน การทบทวนหลังทำกิจกรรม ไม่ว่าการปฏิบัตินั้นจะสำเร็จหรือล้มเหลว

3 เครื่องมือดักจับความรู้หลังการปฏิบัติ “After Action Review (AAR)” มีประโยชน์อย่างไร?
เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน เพื่อให้ทีมสามารถทำได้ดีขึ้นในครั้งต่อไป เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น และ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหานี้ขึ้นอีก

4 ขั้นตอนการทำAAR 8. สรุปได้ชุดข้อเสนอแนะ นำไปปฏิบัติได้ทันที
7. วิเคราะห์แสวงหาสิ่งที่จะทำต่อไปให้ดีขึ้นอย่างไร 6. เล่าประสบการณ์ภายใต้คำถามหลัก 4 คำถาม 5. ทบทวนการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ 4. กำหนดประเด็น ถอดบทเรียน (4 คำถามสำคัญ) 3. สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ (คุยกันฉันมิตร ไม่จับผิด) 2. ระบุผู้เข้าร่วมในกระบวนการ (ทุกคนในทีมงาน) 1. กำหนดเวลา (หลังสถานการณ์จบสิ้นทันที)

5 4 คำถามสำคัญในการใช้เครื่องมือ AAR
ท่านมีความคาดหวังอะไรในการทำงานครั้งนั้น? สิ่งที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปตามคาดหวังหรือไม่ อย่างไร? ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น? หากท่านจะต้องดำเนินการในเรื่องนั้น ครั้งต่อไป ท่านจะทำอย่างไร?

6 แบบบันทึกการดักจับความรู้หลังการปฏิบัติ (AAR)
ท่านมีความคาดหวังอะไรในการทำงานครั้งนั้น? สิ่งที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปตามคาดหวังหรือไม่ อย่างไร? ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น? หากท่านจะต้องดำเนินการในเรื่องนั้นครั้งต่อไป ท่านจะทำอย่างไร? 2 1 3 4

7 คาดหวังอะไรกับงานครั้งนี้? สิ่งที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร?
ทำไมเป็นเช่นนั้น? ต่อไปจะปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างไร?

8 ให้กลุ่มร่วมกันทบทวน วิเคราะห์ และสะท้อนประสบการณ์ในการ เข้าร่วมอบรมหลักสูตรนักวิชาการพัฒนาชุมชน โดยใช้เครื่องมือ ดักจับความรู้หลังการปฏิบัติ (After Action Review: AAR) ให้สมาชิกทุกคนเล่าเรื่องประสบการณ์การทำงานตามประเด็นต่อไปนี้ ๑.๑ ท่านมีความคาดหวังอะไรในการเรียนรู้จากการอบรมครั้งนี้ ๑.๒ สิ่งที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปตามคาดหวังหรือไม่ อย่างไร ๑.๓ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ๑.๔ หากต้องดำเนินการในเรื่องนี้ครั้งต่อไป ผู้จัดการอบรมควรทำอย่างไรให้ดีกว่าเดิม ให้ทุกกลุ่มกลับเข้าที่ประชุมเวลา น. (15.20 น.) และนำเสนอผลต่อที่ประชุม กลุ่มละ ไม่เกิน 10 นาที

9 ทำได้เกินความคาดหวัง ทำได้ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง วางแผนปรับปรุง/พัฒนา
วิธีปฏบัติที่ดี ถอดความรู้ เขาทำได้อย่างไร ทำได้เกินความคาดหวัง AAR คู่มือ ท่านมีความคาดหวังอะไรในการทำงานครั้งนั้น? สิ่งที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปตามคาดหวังหรือไม่ อย่างไร? ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น? ในเรื่องนี้ครั้งต่อไป จะปรับปรุง/พัฒนาอย่างไร? ทำได้ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง วางแผนปรับปรุง/พัฒนา บทเรียนต้องแก้ไข ข้อพึงระวัง

10 สรุปเคล็ดลับการทำAAR
ทุกคนในทีมงานต้องเข้าร่วมถอดบทเรียน ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน ไม่มีการกล่าวโทษ ซ้ำเติม ตอกย้ำซึ่งกันและกัน ไม่มีความเป็นเจ้านายหรือลูกน้อง มีแต่บรรยากาศที่เป็นกันเอง มี "คุณอำนวย" คอยอำนวยความสะดวก กระตุ้น ตั้งคำถามให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของตน ถามตัวคุณเองว่าผลที่คาดว่าควรได้รับคืออะไร หันกลับมาดูว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร ความแตกต่างคืออะไร ทำไมจึงแตกต่าง จดบันทึก เพื่อเตือนความจำว่า วิธีการใดบ้างที่คุณได้เคยนำมาแก้ปัญหาแล้ว

11 ข้อคิดในการทำAAR อยากให้ทุกท่านลองนำ AAR ไปใช้กับกิจกรรมหลาย ๆ อย่าง
ทั้งในส่วนของงานประจำการจัดประชุม สัมมนากิจกรรมพัฒนาชุมชน ต่าง ๆ AAR คงไม่ใช่คำตองสุดท้ายสำหรับงานทุกอย่าง เมื่อคนเปลี่ยน เวลาเปลี่ยน สถานที่เปลี่ยน ปัญหาย่อมเปลี่ยน วิธีแก้ปัญหาก็ ต้องเปลี่ยนไปด้วยเช่นกัน AAR มิได้จบลงที่เอกสารสรุปหรือรายงาน แต่จะต้องนำไปสู่การปฏิบัติครั้งต่อไปที่เกิดจากทีมงานช่วยกันวางแผนให้การทำงานดีขึ้นกว่าเดิม “คุณอำนวย” เป็นผู้มีบทบาทหลัก ความสำเร็จของ AAR จึงขึ้นกับฝีมือ และประสบการณ์ของคุณอำนวยเป็นอย่างมาก


ดาวน์โหลด ppt การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google