งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
Basic Life Support (BLS) หน่วยเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2 การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
Basic Life Support (BLS) หน่วยเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

3 วิทยากร อ.นพ. ประสิทธิ์ วุฒิสุทธิเมธาวี อ.พญ. ปณิตา วรปรัชญา
อ.นพ. ประสิทธิ์ วุฒิสุทธิเมธาวี อ.พญ. ปณิตา วรปรัชญา อ.นพ. จีรพล เหล็กเพชร

4 วัตถุประสงค์ สามารถให้การดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
สามารถขอบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้ถูกวิธี

5 เนื้อหา การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การสาธิตโดยใช้หุ่นจำลอง

6

7 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
การตรวจการหายใจ การเปิดทางเดินหายใจ ผู้ใหญ่ เด็ก

8 การจัดท่าทางผู้ป่วย ระวังการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังส่วนคอ

9 การตรวจการหายใจ Look Listen Feel

10 การตรวจการหายใจ Listen Look Feel

11 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Head tilt Chin lift

12 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Head tilt Chin lift ห้ามทำในผู้ป่วยอุบัติเหตุ

13 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Jaw thrust

14 สิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ

15 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Finger sweep maneuver

16 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Cross Finger maneuver

17 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Abdominal thrust

18 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Abdominal thrust

19 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Abdominal thrust

20 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Abdominal thrust

21 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Chest thrust

22 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Chest thrust

23 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Chest thrust

24 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ
Back blow

25 การช่วยหายใจ Mouth to mouth

26 การช่วยหายใจ

27 การช่วยหายใจ

28 การช่วยหายใจ Mouth to nose

29 เทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ

30

31 การจัดท่าที่เหมาะกับการช่วยชีวิต
จัดให้ผู้ป่วยนอนหงาย บนพื้นที่แข็งพอสมควร ในผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ต้องระวังเรื่องการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังส่วนคอ ควรประคองศีรษะและคอให้ดี

32 การประเมินและการเปิดทางเดินหายใจ A: Airway
ในผู้ที่หมดสติ กล้ามเนื้อลิ้นจะอ่อนแรง ทำให้ลิ้นตกไปปิดทางเดินหายใจธีแก้ไข ทำได้โดยการดันหน้าผากให้ศีรษะเงยไปข้างหลัง เชยคางขึ้น ลิ้นที่ติดอยู่กับกระดูกกรามจะถูกยกขึ้น ทางเดินหายใจเปิดโล่ง

33 A : Airway กดหน้าผาก เชยคาง

34 การประเมินการหายใจและการช่วยหายใจ B: Breathing
เมื่อเปิดทางเดินหายใจแล้ว ให้ประเมินว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่โดย การมองดูว่าหน้าอกขยับตามจังหวะการหายใจ, ฟังเสียงลมหายใจ, รับสัมผัสลมหายใจ ใช้เวลาประเมินประมาณ ๕ วินาที เพื่อสังเกตว่าผู้ป่วยหายใจได้ปกติหรือไม่ ถ้าผู้ป่วยหายใจได้ปกติ ให้จัดผู้ป่วยนอนท่าพักฟื้น เพื่อให้ทางเดินหายใจเปิดตลอดเวลา

35 ประเมินอาการ B-Breathing กรณีที่บาดเจ็บระวังคอหัก !!! Look ตาดู
Listen หูฟัง Feel แก้มรับสัมผัส กรณีที่บาดเจ็บระวังคอหัก !!!

36 ถ้าเป่าครั้งแรก แล้วเป่าไม่เข้า
ให้จัดเปิดทางเดินหายใจใหม่ แล้วลองเป่าอีกครั้ง ถ้ายังเป่าไม่เข้าแสดงว่าอาจมีสิ่งแปลกปลอมอุดทางเดินหายใจ ให้เปิดปาก และจัดการนำสิ่งแปลกปลอมออกจากปาก อย่าเป่าลมเข้ามากเกินไป อาจมีอันตรายต่อผู้ป่วยได้

37 เป่าไม่เข้า? ดูในปาก-คออีกที ถ้าโล่งดีให้จัดท่าใหม่ ประกบปากให้สนิท
เป่าไม่เข้า? ดูในปาก-คออีกที ถ้าโล่งดีให้จัดท่าใหม่ ประกบปากให้สนิท BASIC LIFE SUPPORT B Breathing หน้าอกขยับขึ้น-ลง มีลมหายใจออก


ดาวน์โหลด ppt การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google