งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมวิชาการ การดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมวิชาการ การดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมวิชาการ การดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง
“การดูแลภาวะทุพโภชนาการ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง” ห้องประชุมธนากโร โรงพยาบาลสกลนคร วันที่ 16 พฤศจิกายน 2555

2 Malnutrition in CKD patients

3 Introduction High prevalence of malnutrition exists in patients with CKD. Several surveys have reported protein-calorie malnutrition in up to 40% of CKD pts. Risk for malnutrition increases as CKD progresses. Malnutrition in CKD is multifactors. Surveys consistently report inadequate oral intake >>>major contributing factor. Ann Rev Nutr, 2001;21:

4 Nutritional Challenges in CKD
Undernourished patients with ESRD Significantly increased morbidity : 27% - 43% increased risk for stroke Independently associated with increased mortality. -Results in more & longer hospitalizations & higher health care costs. Negatively affects functioning & quality of life

5 Serum albumin concentration and survival in patients with nondialysis-dependent CKD
Am. J. Clin. Nutr. 90, 407–414 (2009).

6

7 Protein-Energy Malnutrition (PEM)
a lack of adequate energy or protein supply that meets the metabolic demands placed on the body by one or more of the following: • inadequate protein intake from dietary sources • ingestion of poor quality protein • increased demands resulting from disease • increased loss of nutrients

8 CKD..influence on nutritional status?

9 Uremic malnutrition Poor nutritional status in CKD..caused by
insufficient dietary intake metabolic disturbances Semin Nephrol 2006;26:

10 Causes of undernutrition in patients with CKD
Uremic syndrome leads to undernutrition Reduced oral intake Restrictive dietary regimen Uraemic toxicity Microinflammation (MIA syndrome) Metabolic acidosis Endocrine factors (insulin resistance, hyperparathyroidism, elevated plasma leptin, etc.) Gastrointestinal factors (gastroplegia, impaired absorption, etc.)

11 Does CKD have an influence on GI tract?
Nearly all GI functions, mainly gastric emptying, can be compromised in CKD patients. Gastroparesis most pronounced in patients with diabetic nephropathy.

12 Diagnostic criteria for PEW and enteral nutrition in patients with CKD

13 การใช้สารอาหารทางการแพทย์ ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
ข้อแนะนำในการให้สารอาหารทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยผู้ใหญ่โรคไต พ.ศ. 2553

14 ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
11.1 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 ควรได้รับอาหารที่มีปริมาณโปรตีนและพลังงานไม่แตกต่างจากคนปกติ คือ ได้รับพลังงานจากอาหารในปริมาณ กิโลแคลอรี/น้ำหนักตัว1 กก./วัน และโปรตีนจากอาหารประมาณ กรัม /น้ำหนักตัว1 กก./วัน

15 ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
11.2 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 (eGFR = 30–59 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) • ควรได้รับพลังงานจากอาหารในปริมาณ กิโลแคลอรี/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน • ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนในปริมาณ กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน ซึ่งอย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณโปรตีนที่บริโภคควรเป็นโปรตีนคุณภาพสูง และควรได้รับการแก้ไขภาวะเลือดเป็นกรดก่อนได้รับการจำกัดอาหารโปรตีน

16 ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
11.2 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 (eGFR = 30–59 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) • ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารโปรตีนต่ำ โดยได้รับโปรตีนเพียง กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต(Slow progression of CKD) อาจพิจารณาให้ผู้ป่วยรับประทานketoamino acids หรือ essential amino acids เพื่อป้องกันภาวะขาดโปรตีน แต่ไม่แนะนำให้กรดอะมิโนเสริมในรายที่ได้รั้บอาหารโปรตีนมากกว่า 0.6 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน

17 ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
11.3 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5 (eGFR < 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) • ควรได้รับพลังงานจากอาหารในปริมาณ กิโลแคลอรี/น้ำหนักตัว1 กก./วัน • ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนในปริมาณ 0.6 กรัม/น้ำหนักตัว1 กก./วัน ซึ่งอย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณโปรตีนที่บริโภค ควรเป็นโปรตีนคุณภาพสูง และควรได้รับการแก้ไขภาวะเลือดเป็นกรดก่อนได้รับการจำกัดอาหารโปรตีน

18 ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
11.3 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4-5 (eGFR < 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) • ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารโปรตีนต่ำ โดยได้รับโปรตีนเพียง กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ควรพิจารณาให้ผู้ป่วยรับประทาน ketoamino acids หรือ essential amino acids เพื่อป้องกันภาวะขาดโปรตีนและช่วยชะลอการเสื่อมของไต อนึ่งไม่แนะนำให้กรดอะมิโนเสริมในรายที่สามารถรับประทานอาหารโปรตีนตั้งแต่ 0.6 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ขึ้นไป

19 ข้อแนะนำข้อที่ 11 การให้สารอาหารฯในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
11.4 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 (eGFR < 15 มล./นาที/1.73 ตร.ม.)กรณีที่ยังไม่ได้รับการบำบัดทดแทนไต • ควรได้รับพลังงานจากอาหารในปริมาณ กิโลแคลอรี/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน • ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนในปริมาณ 0.6 กรัม/น้ำหนักตัว1 กก./วัน ซึ่งควรเป็นโปรตีนคุณภาพสูงอย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณโปรตีนที่บริโภค และควรได้รับการแก้ไขภาวะเลือดเป็นกรดก่อนได้รับการจำกัดอาหารโปรตีน • กรณีที่ผู้ป่วยรับประทานอาหารโปรตีนต่ำมาก โดยได้รับเพียง กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก./วัน ควรพิจารณาให้ได้รับketoamino acids เพื่อป้องกันภาวะขาดโปรตีน และป้องกันการสะสมของยูเรีย

20

21

22

23

24

25

26

27


ดาวน์โหลด ppt การประชุมวิชาการ การดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google