งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

8 มีนาคม 2550 ณ ห้องประชุมอาคารเรียนเดิม คณะเกษตรศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "8 มีนาคม 2550 ณ ห้องประชุมอาคารเรียนเดิม คณะเกษตรศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาส่วนราชการให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ในส่วนราชการ
8 มีนาคม 2550 ณ ห้องประชุมอาคารเรียนเดิม คณะเกษตรศาสตร์ ดร.จิตรลดา บุรพรัตน์ วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 กำหนดการ การเปลี่ยนแปลงคืออะไร แนวโน้มและการแข่งขันของตลาดการศึกษา คุณลักษณะขององค์กรปัจจุบัน การจัดการความรู้ คืออะไรกิจกรรมของการจัดการความรู้ องค์ประกอบของการจัดการความรู้ เครื่องมือ Workshop

3 1. การเปลี่ยนแปลงคืออะไร

4 การเปลี่ยนแปลงในองค์กรคืออะไร
กลยุทธ์สำหรับความสำเร็จนั้น ต้องอาศัยการเปลี่ยนแปลงในองค์กรเพื่อการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เช่น การปรับเปลี่ยนจำนวนหน่วยงาน กระบวนการดำเนินงาน หรือ เปลี่ยนเป้าหมายขององค์กร การจะสร้างการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ได้ พนักงานจะต้องเข้าใจความสำคัญของการสื่อสาร การบริหารองค์กร ภาวะผู้นำ และกระบวนการการตัดสินใจ

5 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อองค์กร
ปัจจัยภายนอก เช่น การตัดงบประมาณ (cuts in funding) ตลาด หรือ ลูกค้ากลุ่มใหม่ (address major new markets/clients) เป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิต หรือบริการ (need for dramatic increases in productivity/services) การแข่งทางการตลาดที่รุนแรง (Global competitiveness) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Changing in international relationship) กฎระเบียบของรัฐบาล (Government rules and regulations)

6 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อองค์กร
ปัจจัยภายนอก (ต่อ) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Advancement in communication and information technology) ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Breakthrough in biological science) ความก้าวหน้าของนาโนเทคโนโลยี (Breakthrough in Nanotechnology) ความก้าวหน้าของไบโอเทคโนโลยี (Breakthrough in Biotechnology) ศูนย์กลางการบิน (Aviation Hub) ศูนย์กลางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Hub)

7 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อองค์กร
ปัจจัยภายใน เช่น การเปลี่ยนจากความผันผวน มาเป็นองค์กรที่มั่นคงและมีแผนการดำเนินงาน (going from a highly reactive, entrepreneurial organization to more stable and planned development) การเปลี่ยนแปลงตัวผู้บริหาร (transition to a new chief executive) การเพิ่มพนักงานใหม่ (adding a new person) การเปลี่ยนแปลงระบบ (modifying a program, etc. such as Total Quality Management, re-engineering)

8 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อองค์กร
ปัจจัยภายใน (ต่อ) การเปลี่ยนแปลงพันธกิจ (change in mission) การเปลี่ยนแปลงระบบการปฏิบัติงาน (restructuring operations, e.g., restructuring to self-managed teams, layoffs) การนำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ (new technologies) การรวมบริษัท / การร่วมมือระหว่างบริษัท (mergers, major collaborations, "rightsizing“)

9 2. แนวโน้มและการแข่งขัน ของตลาดการศึกษา

10 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางการแข่งขันของตลาดการศึกษา
แนวโน้มโลก Corporate Partner Cross Border Education (CBE) Harmonization with diversity (World University President Summit, 2549) Student center Problem/project based learning Research Collaboration/ Degree/non-degree programs

11 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางการแข่งขันของตลาดการศึกษา
แนวโน้มมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์กลางทางการศึกษาของภาคเหนือตอนบน (Education Hub in Greater Maekong Sub-region – GMS) นักศึกษานานาชาติ (International students) มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย (Diverse curriculum)

12 ยุทธศาสตร์ มช. ด้านการผลิตบัณฑิต
จัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษา จัดการศึกษาในระบบทางไกลโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักศึกษาโดยการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ จัดการศึกษาหลักสูตรนานาชาติร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ

13 ยุทธศาสตร์ มช. ด้านการผลิตบัณฑิต (ต่อ)
พัฒนาห้องสมุดเป็นศูนย์การเรียนรู้ กำหนดมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมนักศึกษาอย่างเป็นระบบ พัฒนาหอพักนักศึกษาให้เป็นที่พักอาศัย ที่เรียนรู้ และเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน พัฒนากิจกรรมกีฬานักศึกษา

14 คุณลักษณะของบัณฑิต มช.
มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณภาพทางวิชาการ วิชาชีพ มีความรักชาติ รักองค์กร รู้จักใช้ชีวิตที่พอเพียง รู้จักเสียสละ มีความอดทน มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มีสัมมาคารวะ มีความรักในบุคคลอื่นที่อยู่ร่วมในสังคม

15 คุณลักษณะของบัณฑิต มช. (ต่อ)
มีวิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกรับในสิ่งที่ดี มีความทันสมัย และปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว มีความรอบรู้ นำความรู้ไปประยุกต์ได้อย่างเหมาะสม สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้ ใช้ปัญญาในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีระบบ เป็นผู้นำทางสังคม ดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างดียิ่ง

16 3. คุณลักษณะขององค์กรปัจจุบัน

17 องค์กรที่ตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันได้จะต้อง
เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Becoming a Learning Organization) มีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่สนับสนุนการเรียนรู้ (Dimensions that support learning) ดังนี้ โครงสร้างองค์กรต้องสนับสนุนการทำงานเป็นทีม (Organization structure – more collaborative and team-based) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนการปันความรู้ (Information acquisition, sharing, and retention – effective knowledge and information sharing) ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่กระตุ้นการเรียนรู้ (HRM practices – all reinforce learning) วัฒนธรรมองค์กรที่สนับสนุนการเรียนรู้ (Organizational culture – promotes learning) ผู้นำ (ทุกระดับ) ที่เข้าใจและสนับสนุน (Leadership – supportive at all levels)

18 การสร้างองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่ององค์กรจำเป็นต้องตัดสินใจเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร ซึ่งรวมไปถึงแผนกลยุทธ์ กฎระเบียบ กระบวนการทำงาน ผลของการตัดสินใจในเชิงธุรกิจส่งผลกระทบกับทิศทางการดำเนินงานขององค์กร และการปรับตัวขององค์กร ถ้าองค์กรสามารถมีกระบวนการตัดสินใจที่ดีก็จะทำให้ทุกคนในองค์กรสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้ทัน ในยุคปัจจุบัน จะใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือผลักดันเพราะ

19 4. การจัดการความรู้คืออะไร เครื่องมือของบริหารจัดการ
4. การจัดการความรู้คืออะไร เครื่องมือของบริหารจัดการ

20 ประโยชน์ของการจัดการความรู้
สนับสนุนการสร้างองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้เพื่อให้ผลของการเรียนรู้นั้นสามารถนำไปปรับปรุงคุณภาพของการตัดสินใจ (Promote organizational learning to improve the quality of their decision making) การจัดการความรู้จะช่วยให้มีกระบวนการระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเรียนรู้อันจะส่งผลไปยังการตัดสินใจที่ไม่มีประสิทธิภาพ (Identify factors that reduce the level of organizational learning and result in poor decision making)

21 ประโยชน์ของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ประกอบไปด้วยเทคนิคที่ผู้บริหารสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อลดอคติและเปิดมุมมองเพื่อการเรียนรู้ใหม่ๆ (Some techniques that manager can use to over come these cognitive biases and thus open the organization up to new learning) การจัดการความรู้จึงเป็นกุญแจกลยุทธ์ที่สำคัญใน การใช้ความเชี่ยวชาญของบุคลากรในองค์กรเพื่อ คงไว้ซึ่งศักยภาพและข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน [Jay Liebowitz (1999), The current state of knowledge management, Knowledge Management Handbook, p.1-7]

22 การจัดการความรู้ คืออะไร What is Knowledge Management (KM)?
การจัดการความรู้ คือวิธีการบริหารจัดการที่ช่วยปรับปรุงผลการดำเนินงานและการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งประกอบไปด้วยกระบวนการต่าง ๆ เพื่อช่วยระบุและจับ องค์ความรู้ know-how ความเชี่ยวชาญ และสินทรัพย์ทางปัญญาต่าง ๆ ที่องค์กร/หน่วยงานต้องใช้ ให้สะดวกต่อการถ่ายโอนความรู้ไปทั่วทั้งองค์กร

23 วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ ในยุคอุตสาหกรรมไฮเทคและยุคโลกาภิวัฒน์
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร (Organization effectiveness) ความรวดเร็วของการเปลี่ยนแปลง (Speed of change) เพื่อผลประโยชน์ทางการแข่งขัน (To gain competitive advantage, trends, unusual patterns) ลดต้นทุน (Reduce cost – early retirement  lost of knowledge) เพื่อบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (To manage resource effectively) สนับสนุนเศรษฐกิจฐานความรู้ (Support knowledge based economy)

24 วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ (ต่อ) ในยุคอุตสาหกรรมไฮเทคและยุคโลกาภิวัฒน์
สนับสนุนเศรษฐกิจฐานความรู้ (Support knowledge based economy) สนับสนุนสังคมฐานความรู้ (Support knowledge based society) สร้างแหล่งทรัพยากร (Source of wealth (land, labour, capital) – Drucker) บูรนาการความรู้เพื่อความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมใหม่ (Creativity and innovation) สร้างความรู้ที่มีมูลค่าเพิ่ม (Create value added the knowledge)

25 วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ (ต่อ) ในยุคอุตสาหกรรมไฮเทคและยุคโลกาภิวัฒน์
สร้างทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property) เพื่อสร้างการเรียนรู้แบบยั่งยืน (Need for life long learning) ทดแทนความล้มเหลวของการกระตุ้นเทคโนโลยีสารสนเทศเพียงอย่างเดียว (Failure of information technology operated by itself)

26 ขอบเขตการใช้การจัดการความรู้
Learning organization Information Management Business Transformation Knowledge Management Knowledge Based System Innovation Intellectual Assets

27 กิจกรรมของการจัดการความรู้

28 กิจกรรมของการจัดการความรู้
การจับความรู้ (Knowledge capture) การจัดหมวดหมู่ความรู้(Categorization of captured knowledge) จัดทำแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการกระจายความรู้ (Developing information technology infrastructures and applications for the distribution of knowledge) ให้ความรู้พนักงานเกี่ยวกับวิธีการสร้าง ปัน และใช้ความรู้ (Educating employees on the creation, sharing and use of knowledge)

29 KMS = Resulting Hub of Data, Information and Knowledge
Contexts: Management Knowledge Maps for Decision Making Concepts: COPs Problem Solving Contents: Repository Knowledge Tacit Knowledge Explicit Knowledge Document Database

30 5. องค์ประกอบของการจัดการความรู้
เทคโนโลยี คน สิ่งแวดล้อม

31 องค์ประกอบและความสำคัญ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

32 ผู้ที่เกี่ยวข้อง: นักวิจัย/ผู้ปฏิบัติงาน
อยู่ในสายของ computer and/or information science. เกี่ยวข้องกับการสร้างระบบ information management systems, AI, reengineering, group ware เป็นต้น ในมุมมองด้านนี้ ความรู้/knowledge คือ วัตถุที่บ่งชี้และกำหนดได้ในระบบการจัดการความรู้ องค์ประกอบด้านนี้ มีความใหม่เกิดขึ้นตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงเร็ว เพราะมีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตลอดเวลา เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจับความรู้ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บความรู้ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการกระจายความรู้

33 เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจับความรู้
Mindmap

34 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บความรู้
Data Mining or Data Discovery Process of analyzing data to identify patterns or relationships – customer behaviour – from large data stores or sets Knowledge-discovery in database (KDD) Statistics, patterns recognition in database CommonKADS

35

36 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการกระจายความรู้
Blog (or weblog) Journal or newsletter available on the web On-line journal Updated daily and contains all information that the person maintaining the BLOG (blogger) whishes to share with the world For example: KMI, Google, Blog of America (democracy for America’s grassroots activism)

37

38 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการกระจายความรู้ (ต่อ)
File Sharing Sharing of files via the network file server. Shared files can be read, reviewed, and updated by more than one individual Access to the file or files through password protection, account or security clearance, or file locking Networking: Intranet

39

40 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการกระจายความรู้ (ต่อ)
Search Engine Maintain databases of websites and use programs (spiders or robots) to collect information and indexed Google Yahoo Alta Vista Lycos My Excite Note: yellow pages, white pages, , personal setting, directory, forum

41

42

43 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการกระจายความรู้ (ต่อ)
E-Learning Anytime and anywhere Education offered using electronics delivery methods such as CD-ROMs, video conferencing, website and , on-line learning (internet, computer network, LAN, WAN), TV, satellite broadcast, mobile phones Often used in distance-learning programs Virtual classrooms, on-the-job training, simulation

44 การออกแบบเทคโนโลยี พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็น Information Based Organization ให้เกิดการเรียนรู้ จากข้อมูลที่สะสมไว้แล้วนำมาเผยแพร่ให้เป็นที่เข้าใจและนำไปใช้ปฏิบัติทั่วทั้งองค์กรเพื่อไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) โดยคำนึงถึง การส่งเสริมโอกาสทางการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยี (Accommodate learning through technology) การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communication Technology – ICT) สนับสนุนการรับความรู้ (Support receiving knowledge) สนับสนุนการส่งความรู้ (Sending knowledge) สนับสนุนการปันความรู้ (Sharing knowledge)

45 ความแตกต่างระหว่างข้อมูลและความรู้ (What is the different between Information and Knowledge?)
ข้อมูลและความรู้นั้นเกี่ยวข้องกันแต่ไม่เหมือนกัน Related but not the same thing because they are not identical Knowledge “K” To improve skills and development Associative Rich Multi-layered Multi-facet Contextual Accessible Dynamic Information “I” for its own sake Information is atomic (small) and static (still)

46

47 องค์ประกอบและความสำคัญด้านคน

48 ผู้ที่เกี่ยวข้อง: นักวิจัย/ผู้ปฏิบัติงาน
อยู่ในสายสังคมศาสตร์ เช่น ปรัชญา จิตวิทยา สังคมวิทยา บริหาร ศึกษาศาสตร์ เป็นต้น เกี่ยวข้องกับการประเมิน การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทักษะรวมทั้งพฤติกรรมคน เป็นต้น ในมุมมองด้านนี้ ความรู้/knowledge คือ กระบวนการพัฒนาของศักยภาพที่ซับซ้อน know-how ที่ต้องพัฒนาอยู่เสมอตามความต้องการ องค์ประกอบด้านนี้ เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้และบริหารศักยภาพของคนแต่ละคน like psychologists – or on an organization level – like philosophers, sociologists or organizational theorists. องค์ประกอบด้านนี้เป็นศาสตร์ที่มีการพัฒนามายาวนาน และเปลี่ยนแปลงช้า

49 คุณลักษณะของบุคลากรที่ต้องการ
บุคลากรที่สังคมในศตวรรษที่ 21 ต้องการคือบุคลากรที่มีความรู้และมีทักษะ กล่าวคือ เป็นคนมีเหตุผลเพื่อสามารถแก้ปัญหาเป็น ค้นคว้าเป็น ประยุกต์ใช้ความรู้เป็น สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นทีมได้ 21st century requires the education and training of knowledge workers ---- one who is able to use logical-abstract thinking to diagnose problems, research and apply knowledge, propose solutions, and design and implement those solutions, often as a team members (Wilson, 2001) สถานประกอบการในศตวรรษที่ 21 ต้องการบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและทักษะที่หลากหลาย เพื่อที่จะสามารถพัฒนาทักษะการใช้ความคิด ความสร้างสรรค์ การทำงานร่วมกับผู้อื่น และแก้ปัญหาเป็นได้ด้วยตนเอง The 21st century workplace requires a range of skills and competencies from graduates which will require the use and development of thinking skills, creativity, team working and problem solving (Edward de Bono)

50 คุณลักษณะของบุคลากรที่ต้องการ
รายงานล่าสุดของ APEC แถลงว่าการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศในแถบเอเชียไม่ได้เตรียมบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถสำหรับตลาดแรงงานที่ต้องการทักษะพื้นฐานที่ประกอบด้วยทักษะเฉพาะ The most recent report from APEC shown that basic education in Asian countries did not prepare entry-level employees while the labour market still demand technical skilled workers (Hawley, 2005)

51 ทักษะที่จำเป็น ทำงานเป็นทีม (Teamwork, Team Learning, Group Dynamics)
มนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Skills) ภาวะผู้นำ (Leadership) การแก้ปัญหา (Problem Solving) การสื่อสาร (Communication) การตัดสินใจ (Decision Making) เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง เราจึงควรพัฒนากิจกรรมรูปแบบต่างๆ ที่สนับสนุนให้เกิดกระบวนการการเรียนรู้ ให้เกิดการแลกเปลี่ยน วิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้ เพื่อนอกจาก จะยกระดับศักยภาพของพนักงานให้ได้ความรู้ใหม่ การประยุกต์ใช้ความรู้ เรียนรู้จากการใช้ ความรู้ เหล่านั้นและเพื่อต่อยอดความรู้ของตนเองและธนาคารแล้ว ยังช่วยพนักงานพัฒนาภาวะผู้นำ ซึ่ง ประกอบด้วยทักษะต่างๆ ดังนี้ ความสามารถมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal skills) – เอาใจเขามาใส่ใจเรา, ให้เกียรติ, ยอมรับผู้อื่น, ตั้งใจฟัง การสร้างทีม (Team Building) - สร้างและพัฒนาทีม, มีความสามัคคี, มีจุดประสงค์ที่ชัดเจน และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, ร่วมมือกัน, และคุยกันมากกว่าเถียงกัน การเรียนและmentoring (Learning and Mentoring) - นึกถึงคนอื่นว่าวิธีเรียนต่างกัน, เข้าใจวิธีเรียนที่มีประสิทธิภาพ, สร้างทักษะการฝึกอบรมคนอื่น, สร้างคนโดยการ coaching mentoring และ teaching การตัดสินใจ (Decisiveness) – รับเอามุมมองด้านต่างๆ มาตรึกตรอง, ทดสอบเหตุ กลยุทธ์ และการดำเนินการแก้ปัญหา, ลองแก้ปัญหาโดยไม่จำเป็นว่าข้อมูลต้องพร้อม, เสี่ยง, เช็คผลกระทบและผลของการตัดสินใจ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation) - มองปัญหามุมใหม่, ถามคำถาม ใหม่ๆ เพื่อให้เข้าใจปัญหาลึกกว่าเดิม, ท้าทายข้อสรุปเดิมๆ การมองภาพรวม (Systems Thinking) - ให้เห็นปัญหาเป็นภาพรวมก่อนจะแก้ไข, มองให้เห็น ว่าปัญหาแต่ละอันเชื่อมโยงกันอย่างไร ไม่ใช่มองปัญหาเป็นชิ้นๆ, ประมวลปัญหา, มองให้เห็นว่าปัญหาว่าข้อไหนควรมาก่อนข้อไหนควรมาหลัง เกียรติ ศักดิ์ศรี และการบริหารข้อขัดแย้ง (Integrity and Honesty / Conflict Management) - ฝึกการฟัง, เห็นใจคนอื่นและให้เกียรติ, ให้ถามมากกว่าสั่ง, สะท้อนปัญหาให้ทีมเห็น, ให้พูดถึงปัญหามากกว่าและปัญหาเป็นกระบวนการของการเรียนรู้อย่างหนึ่ง ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือกันของทุกฝ่ายที่จะร่วมมือกันสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ กิจกรรมต่างๆ มีรายละเอียด ดังนี้

52 ทักษะที่จำเป็น (ต่อ) การวางแผนและความสามารถในการมองภาพรวม (Planning and Systems Thinking) การเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation) การบริหารข้อขัดแย้ง (Conflict Management) ทักษะการนำเสนอ (Presentation Skill) ทักษะผู้ชี้นำ/คุณอำนวย (Facilitation Skills) เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง เราจึงควรพัฒนากิจกรรมรูปแบบต่างๆ ที่สนับสนุนให้เกิดกระบวนการการเรียนรู้ ให้เกิดการแลกเปลี่ยน วิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้ เพื่อนอกจาก จะยกระดับศักยภาพของพนักงานให้ได้ความรู้ใหม่ การประยุกต์ใช้ความรู้ เรียนรู้จากการใช้ ความรู้ เหล่านั้นและเพื่อต่อยอดความรู้ของตนเองและธนาคารแล้ว ยังช่วยพนักงานพัฒนาภาวะผู้นำ ซึ่ง ประกอบด้วยทักษะต่างๆ ดังนี้ ความสามารถมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal skills) – เอาใจเขามาใส่ใจเรา, ให้เกียรติ, ยอมรับผู้อื่น, ตั้งใจฟัง การสร้างทีม (Team Building) - สร้างและพัฒนาทีม, มีความสามัคคี, มีจุดประสงค์ที่ชัดเจน และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, ร่วมมือกัน, และคุยกันมากกว่าเถียงกัน การเรียนและmentoring (Learning and Mentoring) - นึกถึงคนอื่นว่าวิธีเรียนต่างกัน, เข้าใจวิธีเรียนที่มีประสิทธิภาพ, สร้างทักษะการฝึกอบรมคนอื่น, สร้างคนโดยการ coaching mentoring และ teaching การตัดสินใจ (Decisiveness) – รับเอามุมมองด้านต่างๆ มาตรึกตรอง, ทดสอบเหตุ กลยุทธ์ และการดำเนินการแก้ปัญหา, ลองแก้ปัญหาโดยไม่จำเป็นว่าข้อมูลต้องพร้อม, เสี่ยง, เช็คผลกระทบและผลของการตัดสินใจ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation) - มองปัญหามุมใหม่, ถามคำถาม ใหม่ๆ เพื่อให้เข้าใจปัญหาลึกกว่าเดิม, ท้าทายข้อสรุปเดิมๆ การมองภาพรวม (Systems Thinking) - ให้เห็นปัญหาเป็นภาพรวมก่อนจะแก้ไข, มองให้เห็น ว่าปัญหาแต่ละอันเชื่อมโยงกันอย่างไร ไม่ใช่มองปัญหาเป็นชิ้นๆ, ประมวลปัญหา, มองให้เห็นว่าปัญหาว่าข้อไหนควรมาก่อนข้อไหนควรมาหลัง เกียรติ ศักดิ์ศรี และการบริหารข้อขัดแย้ง (Integrity and Honesty / Conflict Management) - ฝึกการฟัง, เห็นใจคนอื่นและให้เกียรติ, ให้ถามมากกว่าสั่ง, สะท้อนปัญหาให้ทีมเห็น, ให้พูดถึงปัญหามากกว่าและปัญหาเป็นกระบวนการของการเรียนรู้อย่างหนึ่ง ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือกันของทุกฝ่ายที่จะร่วมมือกันสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ กิจกรรมต่างๆ มีรายละเอียด ดังนี้

53 ความต่างของแต่ละบุคคล
90% ของการเรียนรู้เกิดจากกลยุทธ์การเรียนรู้ส่วนตัวของแต่ละบุคคล เช่น การถามคำถาม การฟัง การสังเกต การอ่าน และการสะท้อนมองสภาพแวดล้อม 90% of learning comes from personal strategies, i.e. asking question, listen, observe, read and reflect on their work environment

54 พหุปัญญา (Multiple Intelligence)
Linguistic intelligence (word smart)  words Logical-mathematical intelligence (number/reasoning smart)  numbers or logic Spatial intelligence (picture smart)  pictures Bodily-Kinesthetic intelligence (body smart)  physical experience Musical intelligence (music smart)  music

55 พหุปัญญา (Multiple Intelligence)
Interpersonal intelligence (people smart)  social experience Intrapersonal intelligence (self smart)  self-reflection Naturalist intelligence (nature smart)  an experience in the natural world by Dr. Howard Gardner (1983) a professor of education at Harvard University

56

57

58

59

60 องค์ประกอบและความสำคัญ ด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

61 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ในเบื้องต้นควรสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ที่ประกอบไปด้วยการสร้างภาวะผู้นำ กระบวนการการบริหารจัดการ การทำงานเป็นทีม วัฒนธรรมองค์กรที่เหมาะสม การสร้างความไว้ เนื้อเชื่อใจ การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน การทำงานร่วมกัน

62 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ผ่านการสนับสนุนให้เกิดการส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ โดยการสร้างบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน สร้างนิสัยใฝ่รู้พัฒนาตนเองให้กับพนักงาน สร้างให้คนเป็นคนรักการเรียนรู้ก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สร้างสมดุลระหว่างการเรียนรู้ร่วมกันและการเรียนรู้ด้วยตนเอง สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกลุ่มปันความรู้ / Community of Practice (COP) สร้างสื่อ/เครื่องมือที่ง่ายต่อการใฝ่หาความรู้ เพราะองค์กรและพนักงานต้องใช้ความรู้เป็นแหล่งทรัพยากร เพื่อสร้างนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ผ่านสภาพแวดล้อมเหล่านี้

63 สิ่งแวดล้อมที่ต้องสร้าง
สนับสนุนความคิดใหม่ๆ (Encourage new ideas) ท้าทายความคิดใหม่ๆ (Challenges others) สนับสนุนให้มีการเปิดโลกทัศน์ทางความรู้และทักษะ (Encourages broadening of knowledge and skills) บริหารสิ่งแวดล้อมให้กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ (Manages surroundings to stimulate creativity)

64 สิ่งแวดล้อมที่ต้องสร้าง
บริหารทีมให้กระตุ้นการปันความรู้และความคิดสร้างสรรค์ (Manages teams to stimulate knowledge sharing and creativity) บริหารทรัพยากรให้กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ (Manages resources to stimulate creativity) สร้างกระบวนการประเมินและให้รางวัล (Provides feedback and recognition) จัดทำแผนเพื่อสร้างทักษะทางการบริหารที่กระตุ้นการจัดการความรู้ (Model appropriate knowledge management skills)

65 6. เครื่องมือ

66 การพูดคุย (Face-to-face dialogue) สร้างแผนที่ความรู้ (Mindmap)
กิจกรรมประจำวันที่นำไปสู่ การสร้างบรรยากาศทางการเรียนรู้ จับ จัดเก็บ กระจาย และถ่ายโอนความรู้ การประชุม (Meeting) การพูดคุย (Face-to-face dialogue) สร้างแผนที่ความรู้ (Mindmap) การสัมภาษณ์ (Interview) การอภิปราย (Small & large group discussion) การนำเสนอ (Presentation) การเล่าเรื่อง (Storytelling) เครือข่าย (Networking) หาผู้เชี่ยวชาญ (Find local champion) สร้างชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice - CoP)

67 การนำไปประยุกต์ใช้ หลังจากการจัดลำดับให้นำไปทำเป็นโครงการที่มีขั้นตอน นำเสนอคณะบดี เพื่อแก้ปัญหาต่อไป จัดกลุ่มเพื่อปันความรู้เป็นประจำ หรือมีประชุมบ่อยๆ ทั้งกลุ่มย่อยที่มีจำนวน 3-10 คน หรือ 8-10 คน นำวิธีการที่เรียนจากวันนี้ไปใช้ในการประชุมเพื่อระดมสมอง หรือเพื่อแก้ปัญหา จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการภายในฝ่าย เน้นประเด็นที่ต้องร่วมกันหารือหรือแก้ไข ทุกคนผลัดกันเป็นผู้อำนวยการประชุมและนำเสนอให้เพื่อนฟัง

68 กิจกรรมพื้นฐานของงานทรัพยากรบุคคลในองค์กรที่สนับสนุนการจัดการความรู้
Career System (manpower planning, recruitment, potential appraisal and promotion, career planning and development) Work planning (role analysis, contextual analysis, and performance appraisal system, decentralization of the workplace) Development system (learning and training, performance guidance and development, and other mechanism of knowledge sharing and competency development)

69 กิจกรรมพื้นฐานของงานทรัพยากรบุคคลในองค์กรที่สนับสนุนการจัดการความรู้
Self-renewal system (role efficacy, organizational development, and action-oriented research), and HRD system (HRD climate, organizational values, quality orientation, reward and recognition, information and empowerment) To adopt HRM and HRD scheme successfully, it is necessary to understand how all relationships inside the system work Source: Hassan et al. (2006) Human resource development practices as determinant of HRD climate and quality orientation

70 การบูรณาการหลากหลายแนวความคิดของการพัฒนาองค์กรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระบบการปฏิบัติงาน โครงสร้างและกิจกรรมในองค์กร Total Quality Change Management Reengineering Supply Chain Management Organizational Learning Knowledge Management Asset Management Benchmarking Organization Agility Competitive Intelligence Innovation

71 Knowledge Mapping and Balanced Score Card Scandia Model
เครื่องมือ / ระบบ/กิจกรรมพื้นฐานของการจัดการความรู้ที่สนับสนุนรวมทั้งส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและกิจกรรมในระบบการปฏิบัติงาน Knowledge Mapping and Balanced Score Card Scandia Model Systems thinking Logistics Management Supply Chain Management

72 CAMT วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ชั้น 5 วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ College of Arts, Media and Technology Chiang Mai University College of Arts, Media and Technology Building Chiang Mai University ,

73


ดาวน์โหลด ppt 8 มีนาคม 2550 ณ ห้องประชุมอาคารเรียนเดิม คณะเกษตรศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google