งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการวินิจฉัยโรค และแมลงศัตรูพืช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการวินิจฉัยโรค และแมลงศัตรูพืช"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการวินิจฉัยโรค และแมลงศัตรูพืช
โดย นางสาวนุชจารี วนาศิริ ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดเชียงใหม่

2 ทำอย่างไร ? เราจะวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง
ความรู้ เครื่องมือ วิธีการ

3 Disease triangle เชื้อสาเหตุ พืชอาศัย เวลา สิ่งแวดล้อม

4 สาเหตุที่ทำให้พืชเป็นโรค เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต
เกิดจากสิ่งมีชีวิต เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต

5 การแทงผ่านเข้าสู่พืช
Disease cycle การปลูกเชื้อ อยู่ข้ามฤดู การแทงผ่านเข้าสู่พืช แพร่ระบาด การติดเชื้อ เติบโต/ขยายพันธุ์ การเจริญลุกลาม

6 โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิต
จุลินทรีย์ต่างๆ (microorganism) ไส้เดือนฝอยศัตรูพืช (Nematode) โปรโตซัว (Protozoa) พืชชั้นสูง (Phanerogram) สาหร่ายปรสิต (parasitic algae)

7 เชื้อรา (Fungi) เป็นจุลินทรีย์ มีนิวเคลียส มีเซลลูโลส หรือไคตินเป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ ลักษณะ เป็นเส้นใยยาว แตกกิ่งสาขา ขยายพันธุ์แบบใช้เพศ (Zygospore, Ascospore, Basidiospore) และไม่ใช้เพศ (conidia, sporangiospore) เป็นปรสิต (parasite) หรือ แซปโปรไฟต์ (saprophyte)

8 เชื้อสาเหตุโรคพืช รา (Fungi) Oidium sp. Colletotrichum gloeosporioides
Curvularia sp.

9 acervulus pycnidium

10 อาการของโรคที่เกิดจากเชื้อรา

11 Anthracnose rust ราแป้ง

12 เชื้อแบคทีเรีย เป็นจุลินทรีย์เซลล์เดียว ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส (prokaryote) รูปร่างท่อน กลม เกลียว เป็นปรสิต (parasite) หรือ แซปโปรไฟต์ (saprophyte)

13 แบคทีเรีย (Bacteria) โรคเน่าดำ ลักษณะโคโลนี บนอาหารเลี้ยงเชื้อ

14 อาการ Bacterial pastule
Xanthomonas campestris pv. Glycine อาการ Bacterial pastule

15 bacterial ooze exuding

16 เชื้อไวรัส มีรูปร่างหลายแบบ ทรงกระบอกสั้น ท่อนยาว ทรงกลมหลายเหลี่ยม
อนุภาคของไวรัสประกอบด้วยกรดนิวคลิอิค ที่ห่อหุ้มด้วยโปรตีน มีรูปร่างหลายแบบ ทรงกระบอกสั้น ท่อนยาว ทรงกลมหลายเหลี่ยม ถ่ายทอดโดยมีแมลง ไร กาฝาก และจุลินทรีย์เป็นพาหะ

17 ไวรัส (virus) Tobacco mosaic virus (TMV)

18 Cucumber Mosaic Virus (CMV)
พาหะ

19 ใบจุดวงแหวนมะละกอ ใบด่างถั่วฝักยาว

20 โรคใบสีส้มของข้าว เพลี้ยจักจั่นสีเขียว พาหะ

21 ไวรอยด์ (viroid) Hop stunt viriod Citrus exocortis viroid (CEVd)

22 ไฟโตพลาสมา (phytoplasma)
พุ่มไม้กวาด Witches broom แตกพุ่มแจ้ ลักษณะเป็นฝอย Phyllody แมลงพาหะ : เพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล

23 ไส้เดือนฝอย (Nematode)
ขนาด ไมครอน ยาว 300-1,000 ไมครอน มี spear หรือ stylet เป็น ectoparasite หรือ endoparasite

24 ไส้เดือนฝอย (nemathod)

25 The root-knot nematode, Meloidogyne incognita
b: ไส้เดือนฝอยเพศเมีย จากเนื้อเยื่อบริเวณราก c: แสดงอาการปุ่มปมที่รากของมะเขือเทศ

26 อาการรากปม Corn seedlings stunted by nematode feeding

27

28 โปรโตซัว (Protozoa) โรคเหี่ยวในปาล์มน้ำมัน
พืชชั้นสูง (Phanerogram) กาฝาก ฝอยทอง หญ้าแม่มด สาหร่ายปรสิต (Parasitic algae) ปกคลุมผิวพืชทำให้การสังเคราะห์แสงลดลง

29 โรคพืชที่มีสาเหตุจากสิ่งไม่มีชีวิต
อุณหภูมิ : สูง หรือ ต่ำเกินไป ความชื้น : สูงหรือต่ำกินไป แสงสว่างไม่เพียงพอ ออกซิเจนไม่เพียงพอ มลภาวะ การขาดแคลนแร่ธาตุ ( หลัก N P K รอง Mg Ca B S Fe Zn) ดินเป็นกรด ด่าง จัด พิษจากสารเคมี การปฏิบัติทางเขตกรรมไม่เหมาะสม Zn Ca

30 ขั้นตอนการวินิจฉัยโรค
สังเกตอาการผิดปกติของพืช เก็บตัวอย่างพืชเป็นโรค /ดิน อย่างถูกต้อง พร้อมข้อมูลการปลูกพืช การตรวจวินิจฉัยสาเหตุโรค

31 เทคนิคการตรวจสอบเชื้อสาเหตุโรค
Streak plate ใช้กับเชื้อแบคทีเรีย

32 Dilution method

33 การแยกเชื้อจากดินโดยตรง (Direct soil plating)

34 การแยกเชื้อโดยใช้เหยื่อล่อ (Baiting technique)

35 การแยกเชื้อจากดินบริเวณรากพืช (Pathogen isolation from the rhizosphere)

36 การแยกเชื้อราจากเมล็ดพืช (Isolation from infected seed)
Blotter method Agar method

37 Koch’s Postulates ( 4 ขั้นตอน)
เชื้อสาเหตุมีความสัมพันธ์กับพืช สามารถแยกเชื้อสาเหตุโรคจากพืชนั้นให้เป็นเชื้อบริสุทธิ์ เชื้อบริสุทธิ์ที่แยกได้ นำไปปลูกเชื้อในพืชปกติ พืชที่ได้รับการปลูกเชื้อสามารถแสดงอาการ

38 ในอันดับ (order) ต่างๆ
การจำแนกแมลง ในอันดับ (order) ต่างๆ

39 Order Coleoptera ด้วงปีกแข็ง
มี 4 ปีก ปีกนอกแข็ง ปีกในใส ศัตรูพืช / ตัวห้ำ

40 ด้วงเต่าตัวห้ำ

41 Order Lepidoptera มี 4 ปีก ปีกมีขน/ลาย เป็นศัตรูพืช (ตัวแก่กินน้ำหวาน)
ผีเสื้อ Order Lepidoptera มี 4 ปีก ปีกมีขน/ลาย เป็นศัตรูพืช (ตัวแก่กินน้ำหวาน)

42 Order Hymenoptera มี 4 ปีก บางใส เอวคอด เป็นตัวห้ำ ตัวเบียน
ผึ้ง ต่อ แตน มด มี 4 ปีก บางใส เอวคอด เป็นตัวห้ำ ตัวเบียน (ผึ้งกินน้ำหวาน)

43 Order Diptera มี 2 ปีก ปีกบาง ตาโต เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ ตัวเบียน
แมลงวัน ยุง มี 2 ปีก ปีกบาง ตาโต เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ ตัวเบียน

44 การจำแนกแมลงวันผลไม้
Bactocera dorsalis B. correcta B. carambolae B. papayae

45 Order Homoptera มี 4 ปีกเท่ากัน หัวและหลังรูปสามเหลี่ยม
เพลี้ย มี 4 ปีกเท่ากัน หัวและหลังรูปสามเหลี่ยม ปากเจาะดูด เป็นศัตรูพืช

46 Order Hemiptera มี 4 ปีก โคนปีกแข็ง ปลายปีกอ่อน ปากแหลม
ปากเจาะดูด เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ

47 Order Orthoptera มี 4 ปีก ตาโต ขาใหญ่ ปากกัด
ตั๊กแตน แมลงสาบ แมลงกระชอน จิ้งหรีด มี 4 ปีก ตาโต ขาใหญ่ ปากกัด เป็นศัตรูพืช (หนวดสั้น) เป็นตัวห้ำ (หนวดยาว)

48 Order Collembola แมลงเล็ก ๆ ในตม ไม่มีปีก ใต้ท้องมีขาดีด 1 คู่
แมลงหางดีด แมลงเล็ก ๆ ในตม ไม่มีปีก ใต้ท้องมีขาดีด 1 คู่ อยู่ในดิน กินซากพืช จุลินทรีย์ในดิน

49 ปีกมีร่างแห ละเอียดมาก บินเหนือน้ำ
Order Ephemeroptera ชีปะขาว ปีกมีร่างแห ละเอียดมาก บินเหนือน้ำ กินซากพืช แพลงตอน

50 Order Odonata พบมากบริเวณแหล่งน้ำ ปากกัด เป็นตัวห้ำ
แมลงปอ มี 4 ปีก ปีกคู่หน้าเล็กกว่าปีกคู่หลัง ปีกมีร่างแห พบมากบริเวณแหล่งน้ำ ปากกัด เป็นตัวห้ำ

51 Order Dermaptera หางเป็นง่าม ไข่ในดิน ชอบอยู่ในดินที่มีซากพืช
แมลงหางหนีบ หางเป็นง่าม ไข่ในดิน ชอบอยู่ในดินที่มีซากพืช ปากกัด เป็นตัวห้ำ (กินซากพืช)

52 ปีกยาวแคบ มีขนขอบปีก ตัวเล็กมาก ปากกรีดดูด เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ
Order Thysanoptera เพลี้ยไฟ ปีกยาวแคบ มีขนขอบปีก ตัวเล็กมาก ปากกรีดดูด เป็นศัตรูพืช เป็นตัวห้ำ

53 ฟันแข็งแรง เป็นแมลงสังคม
Order Isoptera ปลวก ฟันแข็งแรง เป็นแมลงสังคม ปากกัด เป็นศัตรูพืช

54 Order Neuroptera มี 4 ปีก เป็นร่างแห ทนแล้ง
แมลงช้างปีกใส มี 4 ปีก เป็นร่างแห ทนแล้ง ปากดูด(ตัวเต็มวัย) ปากกัด(ตัวอ่อน) เป็นตัวห้ำ

55 การระบาดของแมลง - แมลงไม่ระบาดทุกชนิด - ไม่ระบาดทุกฤดู
- ไม่ระบาดทุกแปลง / ทุกที่

56 จบการบรรยาย ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt หลักการวินิจฉัยโรค และแมลงศัตรูพืช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google