งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Electronic Mail (E-mail)

2 ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ E-mail
เป็นการติดต่อสื่อสารแบบ Asynchronous ข้อมูลในจดหมายจะถูกส่งไปยัง Server ข้อมูลในจดหมายจะถูกเก็บไว้จนกระทั่งถูกเรียกใช้ ข้อมูลในจดหมายอาจจะใช้เวลาเล็กน้อยก่อนที่จะถูกส่งถึง

3 รู้จักกับ E-mail Address
จะถูกส่งไปยัง address ที่กำหนด รูปแบบทั่วไปของ address ตัวอย่างเช่น ในบางครั้งอาจจะอยู่ในรูปแบบ เช่น

4 ข้อดีของ E-mail เป็นการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
สามารถกระจายข้อมูลในจดหมายไปยังผู้อ่านหลายๆ คนได้ ข้อมูลในจดหมายอาจจะถูกส่งต่อไปยังผู้อื่นอีกได้ง่าย สามารถส่งข้อมูลในจดหมายได้รวดเร็วมาก แม้ว่าจะอยู่ไกลออกไป สามารถแนบ files ไปกับข้อมูลในจดหมายได้ ไม่ต้องติดแสตมป์ ใส่ซองหรือไปที่ทำการไปรษณีย์

5 ข้อเสียของ E-mail มีจดหมายที่ต้องรับส่งมากขึ้น
ได้รับจดหมายที่ไม่พึงประสงค์มากขึ้น Junk mail หมายถึง ที่ไร้สาระ spam mail

6 คุณลักษณะของ E-mail พื้นฐาน
เรียบเรียงข้อมูลในจดหมาย (Compose) ตอบข้อมูลในจดหมาย (Reply) ส่งต่อข้อมูลในจดหมาย (Forward) แนบแฟ้มข้อมูลไปกับจดหมาย (Attachment) สมุดบันทึกที่อยู่ (Address book) รายการของกลุ่มรายชื่อ (Mailing list)

7 โปรแกรมรับส่ง E-mail ระบบปฏิบัติการ unix mail, mailx และ pine
ระบบปฏิบัติการ windows Eudora, Microsoft Exchange, Microsoft Internet Mail และ Microsoft Outlook

8 ประเภทของการใช้บริการรับส่ง E-mail
ใช้บริการจากเครื่องที่ตนเองเป็นสมาชิก ใช้บริการจากโปรแกรมประเภท POP/IMAP-based ใช้บริการจาก Web-based ใช้บริการจาก Free ใช้บริการจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP)

9 การใช้โปรแกรม pine สาธิตการใช้โปรแกรม pine

10 การใช้ Netscape mail สาธิตการใช้ Netscape mail

11 การใช้ web-based mail สาธิตการใช้ web-based mail ที่ bucc3/bucc4

12 มารยาทในการใช้ email อย่าส่งข้อมูลที่เป็นความลับใดๆ ไปกับ email
อย่าส่งข้อความที่หยาบคาย ก้าวร้าว หรือน่าเบื่อหน่าย ให้ระมัดระวังอย่าส่งข้อความที่แสดงอารมณ์มากเกินไป ให้ใช้อักษรทั้งตัวเล็กและตัวใหญ่ผสมกันไป ห้ามใช้ตัวหนาหรือขีดเส้นใต้ ลงชื่อท้ายข้อความในจดหมายทุกครั้ง อ่านข้อมูลในจดหมายโดยละเอียดก่อนส่ง

13 การใช้เครื่องหมายแสดงอารมณ์
:-) smile :) also a smile :-D laughing :-} grin :-] smirk :-( frown ;-) wink 8-) wide-eyed :-X close mouthed :-o Oh, no!

14 การใช้ Electronic Shorthand
BTW by the way FYI for your information IMHO in my humble (or honest) opinion WRT with respect to ASAP as soon as possible

15 นโยบายเกี่ยวกับ Email

16 การยืนยันความเป็นบุคคล
จดหมายธรรมดา ใช้ลายเซ็นต์ หรือลายนิ้วมือ ลายเซ็นต์ เจ้าของลายเซ็นต์เท่านั้นที่สามารถสร้างลายเซ็นต์ได้ มีวิธีการในการระบุเจ้าของลายเซ็นต์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์

17 ลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์
ข้อความในจดหมาย ใช้ Message Digest (MD) โดยส่งข้อความเข้าไปใน Hashing Function และได้ Output เป็น MD สร้างลายเซ็นต์ เข้ารหัส MD ด้วยกุญแจส่วนตัว (Private Key) ผู้ส่งมีหน้าที่รักษาความลับของกุญแจส่วนตัวของตนเอง ส่ง MD ไปพร้อมกับลายเซ็นต์

18 ลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์
ผู้รับจดหมายที่มีลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์ แยกข้อมูลข่าวสาร ออกจากลายเซ็นต์ ใส่ข้อความเข้าไปใน Hashing Function เพื่อสร้าง MD ถอดรหัสด้วยกุญแจสาธารณะ (Public Key) ของผู้ส่ง เพื่อให้ได้ MD หาก MD จากทั้ง 2 ส่วนมีค่าเท่ากัน แสดงว่าลายเซ็นต์ที่ได้รับมาเป็นของผู้ส่งจริง

19 กฎหมาย IT ในประเทศไทย กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มาตรา 4 มาตรา 7

20 ทฤษฎี E-mail Mail sender Mail User Agent SMTP Mail Transfer Agent
Protocol Flow Flow Mail User Agent SMTP Mail Transfer Agent Server SMTP Mail Transfer Agent POP IMAP Local Server Remote Server Mail User Agent Mail Recipient

21 SMTP (Simple Mail Transfer Protocol)
กิจกรรม ก. ส่ง จาก Client ของผู้ส่ง ไปยัง Server ของผู้ส่ง ข. ส่ง ระหว่าง Servers ต่างๆ ใช้ TCP-Port 25 ในการทำงาน กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 821

22 Mail Message Format องค์ประกอบโดยสังเขป
ก. ส่วนหัว หรือ ส่วนซอง เป็นส่วนของข้อมูลที่ต้องการใช้ในการจัดส่ง ข.  ส่วนตัว หรือ ส่วนของเนื้อหา เป็นส่วนของข้อมูลที่ต้องการส่ง กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 822

23 MIME (Multipurpose Internet Mail Extension)
เป็นการระบุชนิดและลักษณะของข้อมูล ที่จะทำการส่งไปกับส่วนเนื้อหาของ message องค์ประกอบโดยสังเขป ก. Content-Transfer-Encoding ระบุวิธีการเข้ารหัส ข. Content-Type ระบุชนิดของข้อมูล (Type และ Subtype) กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 1341

24 POP (Post Office Protocol)
เป็น protocol ปัจจุบันใช้ version 3 เรียกว่า POP3 กิจกรรม ก. แสดงตัวตน โดยระบุ Username และ Password ข. ติดต่อจาก Client เพื่อขอ message จาก Server ใช้ TCP-Port 110 ในการทำงาน กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 1725

25 IMAP (Internet Message Access Protocol)
เป็น protocol ปัจจุบันใช้ version 4 เรียกว่า IMAP4 กิจกรรม ก. แสดงตัวตน โดยระบุ Username และ Password ข. วิเคราะห์และเลือก message ที่ต้องการจาก Server ค. สามารถเข้ารหัส message ได้ ใช้ TCP-Port 143 ในการทำงาน กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 1730

26 โปรแกรม E-mail Server ระบบปฏิบัติการ unix Sendmail
ระบบปฏิบัติการ windows Microsoft Exchange Server

27 ปัญหา:E-mail address Who am I ? Chaiyo.com ผมชื่อ ชื่อ แดง น่ารัก
แดง น่ารัก Hotmail.com ดิฉัน ชื่อ ดำ คมขำ หนู ชื่อ ส้มโอ สีเขียว Frccmail.com ผมชื่อ ขาว เขียวเข้ม ผมชื่อ Jim Smith Yahoo.com Siammail.com Who am I ?

28 การกำหนดโควต้าของเซิร์ฟเวอร์ bucc4
อาจารย์ ข้าราชการ อาจารย์ เนื้อที่ 20 M ข้าราชการ เนื้อที่ 10 M บุคลากร เนื้อที่ 4 M เนื้อที่ส่งเมล์ ข้าราชการ อาจารย์ มีขนาดโควต้า 20 M บุคลากรมีขนาดโควต้า 4 M

29 การกำหนดโควต้าของเซิร์ฟเวอร์ bucc3
นิสิต HOME DIRECTORY เนื้อที่ 10 M เนื้อที่ส่งเมล์ เนื้อที่ 4 M

30 แนะนำการใช้ Mail ให้รับจดหมายได้อย่างสะดวก
เครือข่าย BUUNet มีเซิร์ฟเวอร์หลักที่ให้บริการ Mail เป็นจำนวน 3 เซิร์ฟเวอร์ คือ bucc4.buu.ac.th, bucc3.buu.ac.th และ mail.buu.ac.th ทำหน้าที่ให้บริการแก่สมาชิกใน การรับ-ส่งจดหมาย ซึ่งในปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ หนึ่งหมื่นคน สมาชิกแต่ละคนต่างก็ใช้บริการรับ-ส่งจดหมายเป็น หลัก ดังนั้นการให้บริการของเซิร์ฟเวอร์จึงจำกัด การใช้ทรัพยากร เช่น ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น ให้ เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกที่มีเป็นจำนวนมาก ในทางปฏิบัติการรับ-ส่งจดหมายจะมีอุปสรรคอยู่ บ้าง เช่น รับจดหมายใหม่ไม่ได้ เพราะเนื้อที่ จดหมายเต็ม เป็นต้น

31 ศัพท์ที่ควรทราบ Protocol เป็นตัวกลางในการแปลข้อมูลจากรูปแบบหนึ่งมาเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง SMTP Simple Mail Transfer Protocol เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการส่งจดหมาย POP Post Office Protocol เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการสำเนาจดหมายเข้าจากเซิร์ฟเวอร์มายังโปรแกรมเมล์ไคลเอนต์ IMAP Internet Message Access Protocol เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการเข้าถึงและจัดการจดหมายบนเซิร์ฟเวอร์จากโปรแกรมเมล์ไคล์เอนต์

32 ข้อดี - ข้อเสีย ในการใช้งานโปรแกรม Mail
ผู้ใช้รีโมตล๊อกอินยังเครื่องเมล์เซิร์ฟเวอร์โดยตรง (ใช้โปรแกรม telnet และใช้คำสั่ง pine) ข้อดี สามารถรับ-ส่งจดหมายได้ ข้อเสีย ถ้าในโฮมไดเรกทอรี่ของผู้ใช้มีแฟ้ม mbox จะทำให้เปิดดูจดหมายใหม่ไม่ได้ เพราะโควต้าของโฮมไดเรกทอรี่มีน้อยมาก ถ้ามีงานอื่นกำลังเรียกใช้แฟ้มจดหมายเข้า แฟ้ม Inbox จะถูกล๊อก ผู้ใช้จะไม่สามารถใช้โปรแกรม pine ได้ จนกว่าแฟ้ม Inbox ของผู้ใช้จะถูกยกเลิกการล๊อก

33 ข้อดี - ข้อเสีย ในการใช้งานโปรแกรม Mail
ใช้โปรแกรมเมล์ไคลเอนต์ที่ใช้โปรโตคอล SMTP และ POP ข้อดี ส่งจดหมายได้ไม่มีปัญหา และรับ จดหมายใหม่ได้ถ้าเนื้อที่ Inbox บนเซิร์ฟเวอร์ไม่ เกินโควต้า การรับจดหมายจะเป็นการสำเนา จดหมายจากเซิร์ฟเวอร์มาเก็บไว้บนเครื่องพีซี กรณีที่ไม่ได้ติดต่อกับเครือข่าย จดหมายที่เคย ได้รับแล้ว ยังอยู่บนเครื่องพีซีของผู้ใช้ซึ่งสามารถ เปิดอ่านได้ การแนบแฟ้มไปกับจดหมายทำได้ สะดวก การเปิดอ่านแฟ้มที่แนบมากับจดหมายทำ ได้สะดวก

34 ข้อดี - ข้อเสีย ในการใช้งานโปรแกรม Mail
ข้อเสีย ถ้าแฟ้มจดหมายใหม่ Inbox บนเซิร์ฟเวอร์ ใช้เนื้อที่เกินโควต้า จะไม่สามารถรับจดหมายมายัง โปรแกรมเมล์ไคลเอนต์ได้ กรณีโควต้าเกินข้างต้น บางโปรแกรมเมล์ไคลเอนต์จะแสดงข้อผิดพลาดว่า ใส่รหัส user และ password ไม่ถูกต้อง ซึ่งไม่ตรง กับสาเหตุที่รับจดหมายไม่ได้ (เป็นปัญหาอย่าง มาก เพราะทำให้ผู้ใช้เข้าใจผิด)

35 ข้อดี - ข้อเสีย ในการใช้งานโปรแกรม Mail
ใช้โปรแกรมเมล์ไคลเอนต์ที่ใช้โปรโตคอล SMTP และ IMAP ข้อดี ส่งจดหมายได้ไม่มีปัญหา เปิดอ่าน จดหมาย Inbox โดยตรงบนเซิร์ฟเวอร์ ไม่มีปัญหา เรื่องรับไม่ได้เนื่องจากโควต้าเต็ม การแนบแฟ้มไป กับจดหมายทำได้สะดวก การเปิดอ่านแฟ้มที่แนบ มากับจดหมายทำได้สะดวก ข้อเสีย กรณีที่ไม่ได้ติดต่อกับเครือข่าย จะไม่ สามารถเห็นจดหมาย Inbox ของเดิมที่เคยได้รับ แล้ว และไม่สามารถรับ-ส่งจดหมายได้

36 ทำอย่างไรถึงจะรับจดหมายได้โดยไม่มีปัญหา
วิธีที่จะใช้งานรับส่งจดหมายได้อย่างสะดวก โดย ไม่ติดปัญหารับจดหมายไม่ได้เนื่องจากโควต้าเต็ม คือ ติดตั้งโปรแกรมเมล์ไคลเอนต์เพิ่มเติมประเภทที่ สามารถใช้โปรโตคอล IMAP ได้ เช่น โปรแกรม Netscape สามารถรับจดหมายได้ทั้งโปรโตคอล POP และ IMAP หรือใช้โปรแกรม PC PINE ซึ่ง เป็นโปรแกรมที่มีลักษณะเช่นเดียวกันกับโปรแกรม PINE บนเซิร์ฟเวอร์

37 ทำอย่างไรถึงจะรับจดหมายได้โดยไม่มีปัญหา
ถ้าผู้ใช้คุ้นเคยกับการใช้โปรแกรมเมล์ไคลเอนต์ โปรแกรมใด สามารถใช้โปรแกรมนั้นรับส่งจดหมาย ได้ตามปกติ แต่เมื่อใดที่รับจดหมายไม่ได้ และคาด ว่าน่าจะเกิดจากโควต้าเต็ม ให้เปิดโปรแกรมที่รับ จดหมายด้วยโปรโตคอล IMAP แทน อ่านและ บันทึกจดหมายฉบับที่ต้องการเก็บไว้บนเครื่องพีซี ของผู้ใช้ จากนั้นให้ลบจดหมายฉบับที่อ่านแล้วและ ไม่จำเป็นต้องเก็บไว้ ทำการลบออกให้หมด เพื่อ ประหยัดเนื้อที่ในการรับจดหมายฉบับใหม่ต่อไป

38 การขอ E-Mail Address ของหน่วยงาน
การขอ address ของหน่วยงาน สำนักคอมพิวเตอร์จะไม่เปิดเป็นรหัสบัญชี ผู้ใช้หรือ Account ปกติ แต่จะเป็นชื่อ E- mail aliases ของชื่อ address ของ บุคคลหรือเจ้าหน้าที่ที่ดูแล ชื่อ Address ของหน่วยงานเป็นชื่อ Aliases ของชื่อ Address ของบุคคล

39 การขอ E-Mail Address ของหน่วยงาน
Aliases เป็นชื่ออีกชื่อหนึ่งที่ใช้แทนชื่อ E- mail address ใช้สำหรับส่งจดหมายให้ address ชื่อหนึ่ง แล้วส่งจดหมายนั้นให้ address อื่นๆ ตัวอย่าง เช่น ส่งจดหมายให้แผนก ขาย จดหมายนั้นจะส่งถึงพนักงานขายทุกคน เป็น ต้น โดยเป็นชื่อที่ใช้สำหรับส่ง เท่านั้น ไม่ สามารถนำไปใช้ Login ใดๆ ได้ เพราะไม่ใช่ Account จริง

40 การขอ E-Mail Address ของหน่วยงาน
ข้อกำหนด หน่วยงานที่สามารถขอชื่อ Address ของ หน่วยงานได้ ต้องเป็นหน่วยงานราชการของ มหาวิทยาลัยบูรพา ในระดับภาควิชาขึ้นไป หรือ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องโดยได้รับความเห็นชอบ จากหัวหน้าระดับภาควิชาและคณะ และได้รับอนุมัติ จากผู้อำนวยการสำนักคอมพิวเตอร์ ชื่อ Aliases เป็นชื่อเต็มหรือชื่อย่อ ภาษาอังกฤษของหน่วยงาน หรือชื่ออื่นที่เหมาะสม มีความยาว 8 ตัวและห้ามมีช่องว่าง

41 การขอ E-Mail Address ของหน่วยงาน
ชื่อ Aliases จะต้องเป็นชื่อที่ไม่ซ้ำกับชื่อที่ได้ ลงทะเบียนมาก่อนแล้ว ชื่อ Aliases สามารถแทนชื่อ address ของบุคคลผู้ดูแลใช้งานได้มากกว่า 1 คน บุคคลผู้ดูแลชื่อ ของหน่วยงานจะต้องมีชื่อ E- mail address อยู่แล้ว และจะได้โควต้าพิเศษ 30 MB เมื่อมีการเปลี่ยนบุคคลผู้ดูแลชื่อ Address ของ หน่วยงาน ให้แจ้งต่อสำนักคอมพิวเตอร์ด้วย เพื่อ ดำเนินการเปลี่ยนชื่อ address ให้ถูกต้อง

42 ตัวอย่าง ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ขอชื่อ address ของหน่วยงานเป็นชื่อ computer มีผู้ดูแล คือ อาจารย์เสรี สำนักคอมพิวเตอร์ เปิด address ของ หน่วยงานเป็น นั่นคือ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์สามารถใช้ ชื่อ address : ประชาสัมพันธ์เป็นชื่อ address ของ ภาควิชาได้ เมื่อมีผู้ส่งจดหมายถึง จดหมายนั้น จะส่งถึง อาจารย์เสรี

43 การอ่านจดหมาย จากนั้นเมื่ออาจารย์เสรี เปิดอ่านจดหมายใน account ของตนเอง จะเห็นในส่วนหัวของ จดหมายในรายการ To: เป็นชื่อ address ของ ซึ่งใช้เป็นที่สังเกตุได้ ว่าจดหมายฉบับใดส่งถึงตนเอง และฉบับใดส่งถึง ภาควิชา และจะสะดวกมากขึ้น ถ้าอาจารย์เปิดอ่านจดหมาย เป็นประจำทุกๆวัน แต่ละครั้งที่เปิดอ่านและเห็น จดหมายใหม่ ให้แยกเก็บจดหมายไว้คนละ โฟลเดอร์กัน เช่น โฟลเดอร์ INBOX เก็บจดหมาย ของภาควิชา สำหรับจดหมายส่วนตัวให้เก็บไว้ใน โฟลเดอร์ Private

44 คำถาม ?


ดาวน์โหลด ppt ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google