งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เลขานุการสาว : Good morning, Boss เลขานุการสาว : It’s morning, Boss

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เลขานุการสาว : Good morning, Boss เลขานุการสาว : It’s morning, Boss"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เลขานุการสาว : Good morning, Boss เลขานุการสาว : It’s morning, Boss
ณ ที่ทำงาน ของ...บริษัทใหญ่ เลขานุการสาว : Good morning, Boss 3 เดือนต่อมา เลขานุการสาว : It’s morning, Boss

2 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
1. มอง...ปัจจัยภายนอก 2. ดู...ปัจจัยภายใน 3. ก้าวไปข้างหน้า....สู่อนาคต 2 2 2

3 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
K S Knowledge Society 1.การขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนฐานความรู้ 2.การขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนฐาน ข้อมูลสารสนเทศ 3 3 3

4 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
“Mass products” “ความ ก้าวหน้า ในงาน” “สถาน ที่ทำงาน” “ฝึกอบรม” ฝี “มือ” “Custom ization” มัน “สมอง” “ความ ก้าวหน้า ในทักษะ” “สถานที่ เรียนรู้” การ “เรียนรู้” Corporate responsibility รับผิดชอบต่อมาตรฐาน ทางวิชาชีพ คุณภาพชีวิตการทำงาน และ สังคม 4 4 4

5 การวิเคราะห์ต้นทุน แผนชาติฯ10 และ 11 “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา”
การวิเคราะห์ต้นทุน แผนชาติฯ10 และ 11 “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” เศรษฐกิจ มีเสถียรภาพ 1. รู้เท่าทันเศรษฐกิจ ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยถูกแรงกดดันจากภายนอกเข้ามา 2 กระแสหลัก คือ หนึ่ง กระแสโลกาภิวัฒน์และบริโภคนิยม เป็นกระแสที่เข้ามากระทบต่อสังคมไทยและวัฒนธรรมไทย สร้างปัญหาสังคมมากมาย สอง กระแสเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและการเปิดการค้าเสรี ซึ่งปัจจุบันเป็นระบบเศรษฐกิจหลักของโลกที่ประเทศไทยไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และได้สร้างปัญหาหลายอย่างให้แก่สังคมไทย แต่ประเทศไทยจะต้องปรับกระบวนทรรศน์การพัฒนาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ เวลา และเงื่อนไขที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพื่อลดผลกระทบด้านลบและเก็บเกี่ยวประโยชน์จากกระแสทั้งสองประเภทดังกล่าว เพื่อให้ประชาชนปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ มีความเป็นอยู่ที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี และรักษาธรรมชาติของประเทศไว้ให้ลูกหลาน ดังนั้น แนวคิดที่น่าจะเหมาะในการพัฒนาประเทศในช่วงต่อไป คือ ดุลยภาพระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การใช้สังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี อันเป็นผลมาจากเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ และยังคงรักษาระบบนิเวศน์ให้คงความเป็นธรรมชาติไว้ได้ เนื่องจากทั้ง 3 ส่วนจะเกื้อหนุนกัน หากส่วนใดส่วนหนึ่งตึงไปหรือหย่อนไปก็จะขาดความสมดุล เมื่อไม่สมดุลก็จะล้มลงและไม่ยั่งยืน หากเศรษฐกิจดีก็จะทำให้สามารถพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศให้ดีขึ้น ส่งผลให้สังคมเข็มแข็งเป็นทุนทางสังคมและทุนมนุษย์สะท้อนกลับช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจต่อไป และยังส่งผลให้สังคมและคนในสังคมมีจิตสำนึกที่ดีในการพิทักษ์รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งทำให้ระบบนิเวศน์เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือพืช เป็นการคืนธรรมชาติให้สิ่งแวดล้อม เมื่อทรัพยากรธรรมชาติได้รับการดูแลรักษาให้อุดมสมบูรณ์ ก็จะเป็นทุนทางกายภาพให้แก่การพัฒนาเศรษฐกิจที่ประเทศไทยจะต้องแข่งขันต่อไป นอกจากนี้แนวคิดดุลยภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนแล้ว สำนักงานฯ ยังมีวาระแห่งชาติอีก 3 ประการ ซึ่งจะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้การพัฒนาที่ยั่งยืนประสบความสำเร็จ คือ หนึ่ง การพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน สอง การแก้ปัญหาความยากจน และ สาม การพัฒนาทุนทางสังคม ซึ่งวาระแห่งชาติทั้ง 3 ประการ จะเป็นกลไกช่วยเชื่อมโยงกรทำงานของทั้ง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ให้ปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพได้เร็วและราบรื่น ต่อไปจะขอกล่าวถึงกระบวนทัศน์ในการพัฒนาองค์ประกอบทั้งสามส่วนของดุลยภาพนี้ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน.... แก้ยากจน เอื้อต่อเศรษฐกิจ คน 2. 3. สังคม พึ่งและพัฒนา ตนเอง ทรัพยากร/ สิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล มีจิตสำนึกที่ดี เอื้อต่อชีวิต

6 การวิเคราะห์ต้นทุน แผนชาติฯ10 และ 11 “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา”
การวิเคราะห์ต้นทุน แผนชาติฯ10 และ 11 “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” Financial Capital (FC) 6. Natural Capital (NC) Physical Capital (PC) 5. ประเทศไทยถูกแรงกดดันจากภายนอกเข้ามา 2 กระแสหลัก คือ หนึ่ง กระแสโลกาภิวัฒน์และบริโภคนิยม เป็นกระแสที่เข้ามากระทบต่อสังคมไทยและวัฒนธรรมไทย สร้างปัญหาสังคมมากมาย สอง กระแสเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและการเปิดการค้าเสรี ซึ่งปัจจุบันเป็นระบบเศรษฐกิจหลักของโลกที่ประเทศไทยไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และได้สร้างปัญหาหลายอย่างให้แก่สังคมไทย แต่ประเทศไทยจะต้องปรับกระบวนทรรศน์การพัฒนาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ เวลา และเงื่อนไขที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพื่อลดผลกระทบด้านลบและเก็บเกี่ยวประโยชน์จากกระแสทั้งสองประเภทดังกล่าว เพื่อให้ประชาชนปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ มีความเป็นอยู่ที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี และรักษาธรรมชาติของประเทศไว้ให้ลูกหลาน ดังนั้น แนวคิดที่น่าจะเหมาะในการพัฒนาประเทศในช่วงต่อไป คือ ดุลยภาพระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การใช้สังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี อันเป็นผลมาจากเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ และยังคงรักษาระบบนิเวศน์ให้คงความเป็นธรรมชาติไว้ได้ เนื่องจากทั้ง 3 ส่วนจะเกื้อหนุนกัน หากส่วนใดส่วนหนึ่งตึงไปหรือหย่อนไปก็จะขาดความสมดุล เมื่อไม่สมดุลก็จะล้มลงและไม่ยั่งยืน หากเศรษฐกิจดีก็จะทำให้สามารถพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศให้ดีขึ้น ส่งผลให้สังคมเข็มแข็งเป็นทุนทางสังคมและทุนมนุษย์สะท้อนกลับช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจต่อไป และยังส่งผลให้สังคมและคนในสังคมมีจิตสำนึกที่ดีในการพิทักษ์รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งทำให้ระบบนิเวศน์เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือพืช เป็นการคืนธรรมชาติให้สิ่งแวดล้อม เมื่อทรัพยากรธรรมชาติได้รับการดูแลรักษาให้อุดมสมบูรณ์ ก็จะเป็นทุนทางกายภาพให้แก่การพัฒนาเศรษฐกิจที่ประเทศไทยจะต้องแข่งขันต่อไป นอกจากนี้แนวคิดดุลยภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนแล้ว สำนักงานฯ ยังมีวาระแห่งชาติอีก 3 ประการ ซึ่งจะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้การพัฒนาที่ยั่งยืนประสบความสำเร็จ คือ หนึ่ง การพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน สอง การแก้ปัญหาความยากจน และ สาม การพัฒนาทุนทางสังคม ซึ่งวาระแห่งชาติทั้ง 3 ประการ จะเป็นกลไกช่วยเชื่อมโยงกรทำงานของทั้ง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ให้ปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพได้เร็วและราบรื่น ต่อไปจะขอกล่าวถึงกระบวนทัศน์ในการพัฒนาองค์ประกอบทั้งสามส่วนของดุลยภาพนี้ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน.... 1. 3. Cultural Capital (CC) 2. 4. Social Capital (SC) Human Capital (HC)

7 ปัญหาระบบราชการไทยและบุคลากรภาครัฐ
ขาด ประสิทธิภาพ เช้าชาม เย็นชาม ไม่โปร่งใส ระบบปิด อำนาจนิยม นโยบาย หรู ขาดการบริหาร จัดการที่ดี งานซ้ำซ้อน แย่ง/โยน งานกัน ใช้ทรัพยากร สิ้นเปลือง ไม่คุ้มค่า คอรัปชั่นสูง ไม่เรียนรู้ ที่มา : สำนักงาน กพ.

8 การเปลี่ยนแปลงเพื่อแก้ปัญหาระบบราชการไทย
1. นโยบายรัฐบาล ในการบริหารประเทศ 3. 2. ระบบบริหารบุคคล ภาคราชการ ที่กำลังก้าวสู่ การเปลี่ยนแปลง ความคาดหวังของ Stakeholders ต่อระบบ บริหารราชการ พ.ร.บ. ระเบียบ บริหารราชการฯ พ.ศ.2545 4. พ.ร.บ. ข้าราชการ พลเรือนฯ พ.ศ.2551

9 แผนการจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานรัฐบาลในระยะปานกลางและในระยะยาว
กระทรวง กระทรวง กลุ่มภารกิจ 15 กลุ่ม ภารกิจ กลุ่มภารกิจ กรม ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 เกษตรและสหกรณ์ จังหวัด จะพัฒนาสมรรถนะเพื่อสั่งสมประสบการณ์รองรับคุณภาพของความรับผิดชอบ อย่างไร ? 9

10 Area การขับเคลื่อนนโยบายพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์
สู่แผนพัฒนา การเกษตรระดับจังหวัด นโยบายพรรคการเมือง นโยบายรัฐบาล แผนฯ 10 (สศช.) แผนฯ 10 (กษ.) แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ประเทศไทยถูกแรงกดดันจากภายนอกเข้ามา 2 กระแสหลัก คือ หนึ่ง กระแสโลกาภิวัฒน์และบริโภคนิยม เป็นกระแสที่เข้ามากระทบต่อสังคมไทยและวัฒนธรรมไทย สร้างปัญหาสังคมมากมาย สอง กระแสเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและการเปิดการค้าเสรี ซึ่งปัจจุบันเป็นระบบเศรษฐกิจหลักของโลกที่ประเทศไทยไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และได้สร้างปัญหาหลายอย่างให้แก่สังคมไทย แต่ประเทศไทยจะต้องปรับกระบวนทรรศน์การพัฒนาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ เวลา และเงื่อนไขที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพื่อลดผลกระทบด้านลบและเก็บเกี่ยวประโยชน์จากกระแสทั้งสองประเภทดังกล่าว เพื่อให้ประชาชนปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ มีความเป็นอยู่ที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี และรักษาธรรมชาติของประเทศไว้ให้ลูกหลาน ดังนั้น แนวคิดที่น่าจะเหมาะในการพัฒนาประเทศในช่วงต่อไป คือ ดุลยภาพระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การใช้สังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี อันเป็นผลมาจากเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ และยังคงรักษาระบบนิเวศน์ให้คงความเป็นธรรมชาติไว้ได้ เนื่องจากทั้ง 3 ส่วนจะเกื้อหนุนกัน หากส่วนใดส่วนหนึ่งตึงไปหรือหย่อนไปก็จะขาดความสมดุล เมื่อไม่สมดุลก็จะล้มลงและไม่ยั่งยืน หากเศรษฐกิจดีก็จะทำให้สามารถพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศให้ดีขึ้น ส่งผลให้สังคมเข็มแข็งเป็นทุนทางสังคมและทุนมนุษย์สะท้อนกลับช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจต่อไป และยังส่งผลให้สังคมและคนในสังคมมีจิตสำนึกที่ดีในการพิทักษ์รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งทำให้ระบบนิเวศน์เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือพืช เป็นการคืนธรรมชาติให้สิ่งแวดล้อม เมื่อทรัพยากรธรรมชาติได้รับการดูแลรักษาให้อุดมสมบูรณ์ ก็จะเป็นทุนทางกายภาพให้แก่การพัฒนาเศรษฐกิจที่ประเทศไทยจะต้องแข่งขันต่อไป นอกจากนี้แนวคิดดุลยภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนแล้ว สำนักงานฯ ยังมีวาระแห่งชาติอีก 3 ประการ ซึ่งจะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้การพัฒนาที่ยั่งยืนประสบความสำเร็จ คือ หนึ่ง การพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน สอง การแก้ปัญหาความยากจน และ สาม การพัฒนาทุนทางสังคม ซึ่งวาระแห่งชาติทั้ง 3 ประการ จะเป็นกลไกช่วยเชื่อมโยงกรทำงานของทั้ง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ให้ปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพได้เร็วและราบรื่น ต่อไปจะขอกล่าวถึงกระบวนทัศน์ในการพัฒนาองค์ประกอบทั้งสามส่วนของดุลยภาพนี้ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน.... แผนปฏิบัติราชการของ กษ. แผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด Area แผนพัฒนาการเกษตร ระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การมีส่วนร่วม ของชุมชน

11 Area การขับเคลื่อนนโยบายพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์
สู่แผนพัฒนา การเกษตรระดับจังหวัด การปรับ เปลี่ยน พฤติกรรม การปรับ ปรุงผลการ ปฏิบัติงาน การฝึก อบรม การ เรียนรู้ การ พัฒนา ประเทศไทยถูกแรงกดดันจากภายนอกเข้ามา 2 กระแสหลัก คือ หนึ่ง กระแสโลกาภิวัฒน์และบริโภคนิยม เป็นกระแสที่เข้ามากระทบต่อสังคมไทยและวัฒนธรรมไทย สร้างปัญหาสังคมมากมาย สอง กระแสเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและการเปิดการค้าเสรี ซึ่งปัจจุบันเป็นระบบเศรษฐกิจหลักของโลกที่ประเทศไทยไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และได้สร้างปัญหาหลายอย่างให้แก่สังคมไทย แต่ประเทศไทยจะต้องปรับกระบวนทรรศน์การพัฒนาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ เวลา และเงื่อนไขที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพื่อลดผลกระทบด้านลบและเก็บเกี่ยวประโยชน์จากกระแสทั้งสองประเภทดังกล่าว เพื่อให้ประชาชนปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ มีความเป็นอยู่ที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี และรักษาธรรมชาติของประเทศไว้ให้ลูกหลาน ดังนั้น แนวคิดที่น่าจะเหมาะในการพัฒนาประเทศในช่วงต่อไป คือ ดุลยภาพระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การใช้สังคมมีความเป็นอยู่ที่ดี อันเป็นผลมาจากเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ และยังคงรักษาระบบนิเวศน์ให้คงความเป็นธรรมชาติไว้ได้ เนื่องจากทั้ง 3 ส่วนจะเกื้อหนุนกัน หากส่วนใดส่วนหนึ่งตึงไปหรือหย่อนไปก็จะขาดความสมดุล เมื่อไม่สมดุลก็จะล้มลงและไม่ยั่งยืน หากเศรษฐกิจดีก็จะทำให้สามารถพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศให้ดีขึ้น ส่งผลให้สังคมเข็มแข็งเป็นทุนทางสังคมและทุนมนุษย์สะท้อนกลับช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจต่อไป และยังส่งผลให้สังคมและคนในสังคมมีจิตสำนึกที่ดีในการพิทักษ์รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งทำให้ระบบนิเวศน์เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือพืช เป็นการคืนธรรมชาติให้สิ่งแวดล้อม เมื่อทรัพยากรธรรมชาติได้รับการดูแลรักษาให้อุดมสมบูรณ์ ก็จะเป็นทุนทางกายภาพให้แก่การพัฒนาเศรษฐกิจที่ประเทศไทยจะต้องแข่งขันต่อไป นอกจากนี้แนวคิดดุลยภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนแล้ว สำนักงานฯ ยังมีวาระแห่งชาติอีก 3 ประการ ซึ่งจะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้การพัฒนาที่ยั่งยืนประสบความสำเร็จ คือ หนึ่ง การพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน สอง การแก้ปัญหาความยากจน และ สาม การพัฒนาทุนทางสังคม ซึ่งวาระแห่งชาติทั้ง 3 ประการ จะเป็นกลไกช่วยเชื่อมโยงกรทำงานของทั้ง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ให้ปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพได้เร็วและราบรื่น ต่อไปจะขอกล่าวถึงกระบวนทัศน์ในการพัฒนาองค์ประกอบทั้งสามส่วนของดุลยภาพนี้ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน.... แผนปฏิบัติราชการของ กษ. แผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด Area แผนพัฒนาการเกษตร ระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การมีส่วนร่วม ของชุมชน

12 แผนบริหาร ราชการแผ่นดิน แผนปฏิรูป ระบบราชการ(2)
มอง “ดวงดาว” “ ดวง ” เดียวกัน แผนบริหาร บุคคลภาครัฐ ยุทธศาสตร์ ทรัพยากรการผลิต ยุทธศาสตร์ การผลิต ยุทธศาสตร์ สถาบันเกษตรกร Area เกษตรและสหกรณ์ จังหวัด จะพัฒนาสมรรถนะเพื่อสั่งสมประสบการณ์รองรับคุณภาพของความรับผิดชอบ อย่างไร ? 12

13 ความเคลื่อนไหวการทำงาน เพิ่มผลิตภาพจากความรู้ (Labour Productivity)
การเปลี่ยนแปลงระบบปฏิบัติงานของบุคคลากรภาครัฐ อดีต Labour Intensive ปัจจุบันและอนาคต Knowledge Worker  การสร้าง (Creation)  การถ่ายทอด (Transfer)  การใช้ (Application)  การรักษา (Retention) จับเวลาและ ความเคลื่อนไหวการทำงาน (Time – and – Motion) เพิ่มผลิตภาพจากความรู้ (Management’s make Knowledge more Productivity) เพิ่มผลิตภาพแรงงาน (Labour Productivity) บูรณาการ Day to Day Performance

14 ความเคลื่อนไหวการทำงาน เพิ่มผลิตภาพจากความรู้ (Labour Productivity)
การเปลี่ยนแปลงระบบปฏิบัติงานของบุคคลากรภาครัฐ อดีต Labour Intensive ปัจจุบันและอนาคต Knowledge Worker  การสร้าง (Creation)  การถ่ายทอด (Transfer)  การใช้ (Application)  การรักษา (Retention) จับเวลาและ ความเคลื่อนไหวการทำงาน (Time – and – Motion) เพิ่มผลิตภาพจากความรู้ (Management’s make Knowledge more Productivity) เพิ่มผลิตภาพแรงงาน (Labour Productivity) ประสิทธิภาพ บุคลากร คุณภาพ ของงาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด

15 Competency Process กพ.นำมาใช้ประเมิน
การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ อย่างบูรณาการสู่ผลสัมฤทธิ์ 4) Result ผลลัพธ์ ที่ต้องการ  การเพิ่มความสามารถบุคคลและทีมงาน  การวางแผนยุทธศาสตร์ที่ดีและเหมาะสม  การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์อย่างมีระบบ  การติดตามและแก้ไขปัญหาที่ต่อเนื่อง Driver 3) Output เกิดได้จากอะไร Value Strategy Culture  การประยุกต์ใช้ความรู้  การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง  ความสามารถในการบรรลุเป้าหมาย Competency Model  ด้านการจัดการ  ด้านการมีปฏิสัมพันธ์และสังคม  ด้านการจัดการกับการ เปลี่ยนแปลง  ด้านประสิทธิผลส่วนบุคคล  ด้านความรู้ในงาน 2) Behaviors พฤติกรรมใดก่อให้เกิด 1) Competency จุดเริ่มต้นของการปรับบทบาท Knowledge + Skill + Attitude

16 ผู้รับบริการ/ประชาชน
Competency Process กพ.นำมาใช้ประเมิน 360 องศา มุ่งหา ความต้องการ พัฒนา ตนเอง ซึมซับ สมรรถนะ ใหม่ต่อ การทำงาน 1.ประเมินผล จากบนลงล่าง Downward Appraisal 3.ประเมินผล ด้านข้าง (Lateral Appraisal) เพื่อนร่วมงาน 4.ประเมินผล ด้านข้าง (Lateral Appraisal) ผู้รับบริการ/ประชาชน การประเมินตนเอง ของผู้ถูกประเมิน ทราบ ความต้องการ พัฒนา ด้านไหน การสร้าง ทีมงาน ที่มี ประสิทธิภาพ 2.ประเมินผล จากล่างขึ้นบน Upward Appraisal

17 การประเมิน สมรรถนะ บุคลากร การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
Competency Process กพ.นำมาใช้ประเมิน 360 องศา มุ่งหา ความต้องการ พัฒนา ตนเอง ซึมซับ สมรรถนะ ใหม่ต่อ การทำงาน 2. การประเมิน สมรรถนะ บุคลากร 1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน การประเมินตนเอง ของผู้ถูกประเมิน ทราบ ความต้องการ พัฒนา ด้านไหน การสร้าง ทีมงาน ที่มี ประสิทธิภาพ

18 การประเมิน สมรรถนะ บุคลากร การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
Competency Process กพ.นำมาใช้ประเมิน 360 องศา มุ่งหา ความต้องการ พัฒนา ตนเอง ซึมซับ สมรรถนะ ใหม่ต่อ การทำงาน 2. การประเมิน สมรรถนะ บุคลากร 1.Goal Cascading Method 2.Customer-focused Method 3.Workflow-charting Method 4.ความรู้ความสามารถและ ทักษะในการปฏิบัติราชการ 1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน การประเมินตนเอง ของผู้ถูกประเมิน ทราบ ความต้องการ พัฒนา ด้านไหน การสร้าง ทีมงาน ที่มี ประสิทธิภาพ

19 การประเมิน สมรรถนะ บุคลากร การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
Competency Process กพ.นำมาใช้ประเมิน 360 องศา มุ่งหา ความต้องการ พัฒนา ตนเอง ซึมซับ สมรรถนะ ใหม่ต่อ การทำงาน 2. การประเมิน สมรรถนะ บุคลากร 1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน การประเมินตนเอง ของผู้ถูกประเมิน ทราบ ความต้องการ พัฒนา ด้านไหน การสร้าง ทีมงาน ที่มี ประสิทธิภาพ 1.Bar Scale 2.Rating Scale 3.Hybrid Scale

20 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
1. มอง...ปัจจัยภายนอก 2. ดู...ปัจจัยภายใน 3. ก้าวไปข้างหน้า....สู่อนาคต 20 20 20

21 โครงสร้าง สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
3. 1. 2. 4. ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่ม ยุทธศาสตร์ พัฒนาการเกษตร กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและ โครงการพิเศษ กลุ่มสารสนเทศการเกษตร ภารกิจ 31 ภารกิจ ตามกฎกระทรวง 9 ข้อ

22 ภารกิจการปฏิบัติงาน 31 ภารกิจ
ภารกิจการปฏิบัติงาน ของสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2552 กฎกระทรวง 9 ข้อ ภารกิจการปฏิบัติงาน 31 ภารกิจ Quick Win Flag ship Best Practice Value Create

23 เกษตรและสหกรณ์จังหวัด
บทบาทเดิม 1. หน่วยงานสนับสนุน (Auxillary Function) 2. หน่วยงานอำนวยการ (Staff Function) 3. หน่วยงานปฏิบัติ (Line Function) เกษตรและสหกรณ์จังหวัด บทบาทใหม่(Plus) 1. หน่วยงานเชื่อมโยง บนลงล่าง (Top-down) 2. หน่วยงานเชื่อมโยง แนวนอน (Horizontal) 3. หน่วยงานเชื่อมโยงล่างขึ้นบน (Bottom-up)

24 เกษตรและสหกรณ์จังหวัด
ภารกิจเดิม 1. การกำกับดูแลการปฏิบัติราชการ เร่งรัดติดตามงาน (ฐานะผู้แทนกระทรวงฯ) 2. การปฏิบัติราชการที่มิได้ กำหนดให้เป็นของส่วนใด (ฐานะผู้แทน สป.) เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ภารกิจใหม่(Plus) 1. การเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์เพื่อบูรณาการ (Strategic Function) 2. การบริหารจัดการ เชิงบูรณาการ สำหรับ ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ (Adiministrative Function)

25 ของ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จำนวนรวม 1,176 ราย
ประเภทบุคลากร ของ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จำนวนรวม 1,176 ราย ข้อมูล ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2552

26 จำแนกตามประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง
จำนวนข้าราชการ จำแนกตามประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง ข้อมูล ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2552

27 ระดับการศึกษาจำแนกตามกลุ่มงาน ของข้าราชการสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
ข้อมูล ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2552

28 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
ความ เหมาะสม กับตำแหน่ง ความเหมาะสม กับ องค์กร Person ความรู้ ความ สามารถ Competency นิสัย พฤติกรรม Process พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ความเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่า ขั้นตอน การปฏิบัติงาน มนุษยสัมพันธ์ สนองนโยบายผู้บริหาร/วิสัยทัศน์องค์กร ได้ มาตรฐาน ตาม ที่กำหนด Impact Result Product สัมพันธภาพ สถานภาพ

29 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
Person 1. ปัญหาในการปฏิบัติงาน ของบุคคล 2. ความจำเป็นในหน้าที่ของการ ปฏิบัติงานที่เปลี่ยนแปลง Process 3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล Product

30 1. ปัญหาในการปฏิบัติงานของบุคคล
เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานของบุคลากรยังไม่สอดคล้องกับมาตรฐาน การปฏิบัติงานที่กำหนด ได้แก่ 1) การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 2) การประเมินสมรรถนะบุคลากร

31 2. ความจำเป็นในหน้าที่ของการ ปฏิบัติงานที่เปลี่ยนแปลง
2. ความจำเป็นในหน้าที่ของการ ปฏิบัติงานที่เปลี่ยนแปลง เพื่อให้บุคลากรได้รับการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับภารกิจ ยุทธศาสตร์และกระบวนงาน รวมทั้งเป็นการเพิ่มขวัญกำลังใจและสร้างความเชื่อมั่น ต่อการปฏิบัติงาน...เนื่องจาก 1) มีการปรับเปลี่ยนภารกิจ กษ. 2) มีการเลื่อนระดับตำแหน่ง 3) มีการเปลี่ยนสายงานของบุคลากร

32 3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เกษตรและสหกรณ์จังหวัด 1) ปัญหาด้านบริการจัดการ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย มีความหลากหลายและเป็นนามธรรมสูงต้องประสานงานหน่วยงานอื่นจำนวนมาก ต้องสั่งสมประสบการณ์ในการทำงานและต้องใช้ภาวะผู้นำสูง Empowerment Structure เกษตรและสหกรณ์จังหวัด หัวหน้าส่วนราชการอื่นในสังกัด กระทรวงเกษตรฯ ในภูมิภาค ระดับตำแหน่งอำนวยการระดับต้น ระดับตำแหน่งอำนวยการระดับสูง

33 3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เกษตรและสหกรณ์จังหวัด 2) ปัญหาด้านวิชาการ ปัญหาภาคการเกษตรมีความสลับซับซ้อนมาก จึงต้องมีการพัฒนาทักษะใหม่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน และต้อง ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง หลากหลายทั้งรูปแบบและวิธีการ ทั้งความรู้ด้านการบริหารจัดการ และความรู้ด้านวิชาการคู่ขนานกันไป Empowerment Structure เกษตรและสหกรณ์จังหวัด หัวหน้าส่วนราชการอื่นในสังกัด กระทรวงเกษตรฯ ในภูมิภาค ระดับตำแหน่งอำนวยการระดับต้น ระดับตำแหน่งอำนวยการระดับสูง

34 3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล นักวิเคราะห์นโยบายและแผน บุคลากรขาดการสั่งสมประสบการณ์ การวิเคราะห์หรือวางแผนด้านการเกษตรเนื่องจากบุคลากรบางส่วน 1)ไม่มีพื้นฐานด้านการเกษตร 2)ปรับตำแหน่งมาจากสายงานอื่นที่มิเคย ได้ปฏิบัติงานด้านแผนฯ

35 3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล นักจัดการทั่วไป 1) ความรู้ความสามารถไม่ตรงกับสายงานที่ได้ดำรงตำแหน่ง และไม่มีการสอนงานที่จะ ทำให้บุคลากรมี ทักษะ ความสามารถอย่างเพียงพอที่จะทำงานตามนโยบายใหม่ๆ 2) งานที่ได้รับมอบหมายมีความหลากหลาย และไม่มีความถนัดเนื่องจากไม่เคยได้รับ การสั่งสมประสบการณ์

36 3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เจ้าพนักงานธุรการ 1) บุคลากรขาดความรู้เกี่ยวกับ ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ สำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2535 2) ข้าราชการที่จะปฏิบัติงานไม่เข้าใจงานด้านสารบัญตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2526

37 3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3. ผลการสำรวจความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 1) บุคลากรไม่ค่อยได้รับการพัฒนาสมรรถนะ การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบ GFMIS ที่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยมาก 2) การปฏิบัติงานถูกเร่งรัดการดำเนินงานให้มี การเบิก จ่ายเงินงบประมาณ ส่งผลต่อภารกิจที่มีมากขึ้นไม่มีโอกาสพัฒนาสมรรถนะตนเอง

38 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
องค์กร

39 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
1. 3. 2. เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ HR Direction/ Strategy HR Capabilities HR Motivation HR Direction / Strategy: ทิศทางที่ สอดคล้องกับ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ HR Motivation: กลไก/วิธีการจูงใจการพัฒนาทรัพยากรบุคคล HR Capabilities: จัดทำโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ขีดความสามารถของการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

40 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
1. 3. 2. เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ HR Direction/ Strategy HR Capabilities HR Motivation HR Direction / Strategy: ทิศทางที่ สอดคล้องกับ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ HR Motivation: กลไก/วิธีการจูงใจการพัฒนาทรัพยากรบุคคล HR Capabilities: จัดทำโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ขีดความสามารถของการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

41 วิสัยทัศน์ กษ.จังหวัด วิสัยทัศน์ สป.กษ.
องค์กรสมรรถนะสูงในการอำนวยการ และสนับสนุน การพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์อย่างบูรณาการ สู่ผลสัมฤทธิ์ เพิ่มคุณภาพชีวิตเกษตรกร เป็นศูนย์กลางการบูรณาการ และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของเกษตรกร วิสัยทัศน์ พัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด บุคลากรสามารถเป็นผู้นำที่ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ เชิงบูรณาการระดับจังหวัด

42 วิสัยทัศน์ พัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
มิติที่ 2 ประสิทธิภาพ การบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HR. Program Efficiency) มิติที่ 4 ความพร้อม รับผิดชอบ ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HR. Acountability) มิติที่ 3 ประสิทธิผล การบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HRM. Program Effectiveness) มิติที่ 1 ความสอดคล้อง เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Alignment) มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน (Quality of Worklife) วิสัยทัศน์ พัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด บุคลากรสามารถเป็นผู้นำที่ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ เชิงบูรณาการระดับจังหวัด

43 33 โครงการ แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล 12 เป้าประสงค์ 12 ตัวชีวัด
มิติที่ 2 ประสิทธิภาพ การบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HR. Program Efficiency) มิติที่ 4 ความพร้อม รับผิดชอบ ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HR. Acountability) มิติที่ 3 ประสิทธิผล การบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HRM. Program Effectiveness) มิติที่ 1 ความสอดคล้อง เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Alignment) มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน (Quality of Worklife) แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด 12 เป้าประสงค์ ตัวชีวัด 9 ประเด็นยุทธศาสตร์ 33 โครงการ

44 33 โครงการ แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล
มิติที่ 2 ประสิทธิภาพ การบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HR. Program Efficiency) มิติที่ 4 ความพร้อม รับผิดชอบ ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HR. Acountability) มิติที่ 3 ประสิทธิผล การบริหาร ทรัพยากรบุคคล (HRM. Program Effectiveness) มิติที่ 1 ความสอดคล้อง เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Alignment) มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน (Quality of Worklife) แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ปี 53 งบ 15.5 ลบ ปี 54 งบ 16.2 ลบ ปี 55 งบ 17.9 ลบ. 33 โครงการ

45 33 โครงการ งบดำเนินงาน สป.กษ. ปี 53 จำนวน 1,064 ล้านบาท
งบดำเนินงาน สป.กษ. ปี 53 จำนวน 1,064 ล้านบาท ปี 53 งบ 15.5 ลบ ปี 54 งบ 16.2 ลบ ปี 55 งบ 17.9 ลบ. 33 โครงการ

46 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนากระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การวางแผนอัตรากำลังและปรับอัตรากำลังให้เหมาะสมกับภารกิจและทิศทางการพัฒนา สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จำนวนโครงการ 4 โครงการ งบประมาณ” ,096,200 บาท จำนวนโครงการ 8 โครงการ งบประมาณ”53 8,426,475 บาท ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรให้มีความสามารถในการอำนวยการและบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวนโครงการ 3 โครงการ งบประมาณ”53 1,598,100 บาท จำนวนโครงการ 6 โครงการ งบประมาณ”53 1,439,200 บาท ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนากระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

47 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างความมั่นคง ในสายอาชีพ
จำนวนโครงการ 6 โครงการ งบประมาณ”53 2,332,700 บาท ประเด็นยุทธศาสตร์ทื่ 5 พัฒนาการให้บริการของ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จำนวนโครงการ 2 โครงการ งบประมาณ” ,700 บาท ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างความมั่นคง ในสายอาชีพ จำนวนโครงการ 2 โครงการ งบประมาณ” ,525 บาท ประเด็นยุทธศาตร์ที่ 7 การพัฒนาระบบการสร้างแรงจูงใจ และการสร้างขวัญกำลังใจ จำนวนโครงการ 1 โครงการ งบประมาณ” ,000 บาท ประเด็นยุทธศาตร์ที่ 8 การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่บุคคล จำนวนโครงการ 1 โครงการ งบประมาณ - บาท ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 9 การส่งเสริมคุณภาพชีวิต บุคลากร

48 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
1. มอง...ปัจจัยภายนอก 2. ดู...ปัจจัยภายใน 3. ก้าวไปข้างหน้า....สู่อนาคต 48 48 48

49 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
ผลสัมฤทธิ์ขององค์กร (Organizational Performance) ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร (Individual Performance) 49 49 49

50 2 P บุคคล กลไก แรงผลัก แรงดึงดูด (PUSH) (PULL) ผลสัมฤทธิ์ขององค์กร
(Organizational Performance) ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร (Individual Performance) บุคคล กลไก 2 P แรงผลัก (PUSH) แรงดึงดูด (PULL) 50 50 50

51 4. 2. 3. 1. การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan)
ผลสัมฤทธิ์ขององค์กร (Organizational Performance) ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร (Individual Performance) 4. 2. 3. การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษ (Talent Development) การพัฒนาบุคลากรที่สืบทอดความเชี่ยวชาญ (Succession Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

52 สมรรถนะหลัก (Core Competency) (Competency Development Plan)
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) การบริการที่ดี (Servive Mind) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) จริยธรรม (Integrity) ความร่วมแรงร่วมใจ(Teamwork) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

53 1. สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (Functional Competency) การพัฒนาสมรรถนะ
1) กลุ่มยุทธศาสตร์และ พัฒนาการเกษตร การคิดวิเคราะห์, การมองภาพองค์รวม, วิสัยทัศน์, การวางแผนกลยุทธ์ภาครัฐ 2) กลุ่มช่วยเหลือ เกษตรกรและโครงการ พิเศษ การควบคุมตนเอง, ศิลปะการสื่อสารจูงใจ, ความเข้าใจผู้อื่น, การทำงานเชิงรุก 3) กลุ่มสารสนเทศ การเกษตร ความถูกต้องของงาน, การสืบเสาะหาข้อมูล, การพัฒนาศักยภาพของคน, การยืดหยุ่นผ่อนปรน 4) ฝ่ายบริหารทั่วไป ความเข้าใจผู้อื่น, ความถูกต้องของงาน, การให้อำนาจผู้อื่น, ความเข้าใจองค์กรและ ระบบราชการ การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

54 การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Competency Development Plan)
ตำแหน่ง เริ่มต้น ตำแหน่ง เป้าหมาย ระยะเวลา การพัฒนาและสั่งสมความเชียวชาญ 2. การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

55 4. 2. 3. 1. การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan)
การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษ (Talent Development) การพัฒนาบุคลากรที่สืบทอดความเชี่ยวชาญ (Succession Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

56 4. 2. 3. 1. สำนักงาน กษ. จังหวัด 1. หลักสูตร Flagship
โครงการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนงาน สำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากการปฎิบัติงาน ระหว่างจังหวัด สำนักงาน กษ. จังหวัด 2. หลักสูตร Best Practice โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศของ เพื่อการจัดการและพัฒนาสมรรถนะ บุคลากร (CMSS : Competency Management Support System) 4. 2. 3. การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษ (Talent Development) การพัฒนาบุคลากรที่สืบทอดความเชี่ยวชาญ (Succession Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

57 4. 2. 3. 1. เกษตรและ สหกรณ์จังหวัด 1. หลักสูตร Flagship
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่และการสร้างภาวะผู้นำ เกษตรและ สหกรณ์จังหวัด 2. หลักสูตร Quick Win กระบวนงานการประเมินผลสัมฤทธิ์งาน /สมรรถนะบุคลากรของกษ. 4. 2. 3. การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษ (Talent Development) การพัฒนาบุคลากรที่สืบทอดความเชี่ยวชาญ (Succession Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

58 4. 2. 3. 1. นักวิเคราะห์ นโยบายและแผน 1. หลักสูตร Flagship
เตรียมการพัฒนาสำหรับผู้บริหารในอนาคตที่มีวิสัยทัศน์ไกล นักวิเคราะห์ นโยบายและแผน 2. หลักสูตร Best Practice โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการเพิ่มทักษะการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ และการ ประชาสัมพันธ์เชิงรุกด้านการเกษตร 4. 2. 3. การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษ (Talent Development) การพัฒนาบุคลากรที่สืบทอดความเชี่ยวชาญ (Succession Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

59 นักจัดการ งานทั่วไป 4. 2. 3. 1. 1. หลักสูตร Value Create
เทคนิคการจัดการประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ นักจัดการ งานทั่วไป 2. หลักสูตร Best Practice เทคนิคการทำผลงานวิชาการ/โครงการฝึกอบรมบุคลากรในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในจังหวัดในทำงานเชิงรุก และร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork) 4. 2. 3. การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษ (Talent Development) การพัฒนาบุคลากรที่สืบทอดความเชี่ยวชาญ (Succession Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

60 4. 2. 3. 1. กลไกการสร้างสมรรถนะที่ต้องการ ความ สามารถ ในการ ปฏิบัติงาน
พัฒนาตนเอง พัฒนาในงาน พัฒนานอกงาน ความ สามารถ ในการ ปฏิบัติงาน สอนงาน พี่เลี้ยง มอบหมายงาน ฝึกอบรม ดูงาน ศึกษาต่อ ใช้สื่อต่าง ๆ กิจกรรม วิชาการ ศึกษาต่อ 4. 2. 3. การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษ (Talent Development) การพัฒนาบุคลากรที่สืบทอดความเชี่ยวชาญ (Succession Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

61 1. 2. 4. 2. 3. 1. กลไกการสร้างสมรรถนะที่ต้องการ
ผลสัมฤทธิ์ขององค์กร การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน การประเมิน สมรรถนะ บุคลากร ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร 4. 2. 3. การพัฒนาความก้าวหน้าในสายงาน (Career Development) การพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษ (Talent Development) การพัฒนาบุคลากรที่สืบทอดความเชี่ยวชาญ (Succession Development) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development Plan) 1.

62 คำถามที่ 1 ถังไหนแบกน้ำหนักมากกว่า หรือ เหนื่อยกว่ากัน ?
แบบ ก แบบ ข คำถามที่ 1 ถังไหนแบกน้ำหนักมากกว่า หรือ เหนื่อยกว่ากัน ? คำถามที่ 2 ถ้าทุกท่านเป็นเจ้าของถังน้ำ และเป้าหมายคือต้องการเก็บน้ำ ให้มากที่สุด และสามารถเติมน้ำได้เมื่อต้องการ ท่านจะเลือกถังน้ำแบบไหน? คำถามที่ 3 ในแบบ ข ถังน้ำเล็กๆ ถูกเตรียมไว้สำหรับระบายน้ำบางส่วนออก แต่ถังใบใหญ่ไม่ยอมเปิดก๊อกระบายใส่ แสดงว่าถังใบใหญ่ เลือกที่จะแบกน้ำไว้ทั้งปีแทนที่จะเปิดก๊อกปล่อยน้ำ เพราะเหตุใด?


ดาวน์โหลด ppt เลขานุการสาว : Good morning, Boss เลขานุการสาว : It’s morning, Boss

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google