งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
“คิดให้ไกล ไปให้ถึง” นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

2 “ประเทศไทยไต่ระดับ” Upgrade Thailand
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๒

3 “ประเทศไทยไต่ระดับ” Upgrade Thailand
วิธีคิดเพื่อไต่ระดับ ผู้นำต้องทำตนเป็นตัวอย่าง โน้มน้าวให้คนในองค์กรเดินไปสู่เป้าหมาย ต้องกล้าหาญที่จะเปลี่ยนแปลง

4 “ประเทศไทยไต่ระดับ” Upgrade Thailand
มีทักษะในการสื่อสารให้คนอื่นเข้าใจ เพื่อให้คนอื่นร่วมมือในการทำงาน พร้อมเดินหน้าไปอย่างรวดเร็ว เร็วไปหรือช้าไป ต้องอาศัยประสบการณ์

5 - ภารกิจด้านคุ้มครองแรงงาน-
การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานแรงงาน ---แรงงานได้รับการคุ้มครองสิทธิและได้รับสวัสดิการ--- ตัวชี้วัดเชิงปริมาณและคุณภาพในภาพรวม ประสบความสำเร็จ

6 - ภารกิจด้านคุ้มครองแรงงาน-
ผลการปฏิบัติงานจำแนกรายกิจกรรม ส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลแรงงานในระบบ จำนวน ๑๓ กิจกรรม

7 เมื่อพิจารณาผลการปฏิบัติงานของหน่วยปฏิบัติพบว่า
กรม สูงกว่า เป้าหมาย ต่ำกว่าเป้าหมาย ไม่ได้ดำเนินการ ตามเป้าหมาย

8 ๑๓ กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่นายจ้าง ลูกจ้าง ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รณรงค์ส่งเสริมสิทธิสตรี อบรมเตรียมความพร้อมเด็กก่อนเข้าสู้ตลาดแรงงาน รณรงค์เผยแพร่เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาแรงงานเด็ก ส่งเสริมและพัฒนาแรงงานหญิงในสถานประกอบกิจการ ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานในระบบ จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือ แรงงานหญิงและเด็ก

9 ตรวจแรงงาน ๑๓ กิจกรรม (ต่อ)
๑๓ กิจกรรม (ต่อ) ให้คำปรึกษาแนะนำ สนับสนุนเทคนิคและวิชาการด้านคุ้มครองแรงงาน ตรวจแรงงาน รับและวินิฉัยคำร้อง โครงการสำรวจสภาพการจ้างและสภาพการทำงานในสปก. ที่มีลูกจ้างรวมกันตั้งแต่ ๑๐ คนขึ้นไป การบริการกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง การจัดทำและเผยแพร่วารสารเครือข่ายในระบบ

10 - ภารกิจด้านคุ้มครองแรงงาน-
ผลการปฏิบัติงานจำแนกรายกิจกรรม ส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลแรงงานนอกระบบ ๕ กิจกรรม

11 เมื่อพิจารณาผลการปฏิบัติงานของหน่วยปฏิบัติพบว่า
กรม สูงกว่า เป้าหมาย ต่ำกว่าเป้าหมาย ไม่ได้ดำเนินการ ตามเป้าหมาย

12 ๕ กิจกรรม อบรมให้ความรู้ด้านสิทธิแรงงานแก่แรงงานนอกระบบ (ผู้รับงานไปทำที่บ้าน และงานเกษตรกรรม) สนับสนุนเทคนิคและวิชาการด้านคุ้มครองแรงงานนอกระบบ รถบริการเคลื่อนที่เพื่อรณรงค์เผยแพร่ความรู้ให้แก่แรงงานนอกระบบ โครงการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานนอกระบบ ตรวจแรงงานนอกระบบ

13 - ภารกิจด้านแรงงานสัมพันธ์-

14 การรายงานผล/การบันทึกข้อมูล
การบริหารแผนงาน การรายงานผล/การบันทึกข้อมูล ๑. หลายหน่วยงานยังไม่เร่งรัดการ ดำเนินงานตามแผนงานรายเดือน แต่จะมาเร่งดำเนินงานปลายปีงบ ประมาณ ทำให้ระหว่างปีกรมฯ ถูกกระทรวงฯ ตำหนิ ๒. การจัดงานวันแรงงานแห่งชาติ ไม่ได้ ดำเนินการทั่วประเทศ บางจังหวัดจัดงาน บางจังหวัดไม่จัดทำให้ไม่เกิดภาพการ รณรงค์ในวันสำคัญดังกล่าว ๑. การบันทึกข้อมูลล่าช้าโดยเฉพาะ งานไกล่เกลี่ยเจ้าหน้าที่มักจะบันทึกข้อมูล เมื่อ Case ยุติ ทำให้ไม่สามารถประเมิน สถานการณ์ปัจจุบันได้ และไม่มีข้อมูลที่ ทันสมัยให้ผู้บริหาร ๒. ไม่บันทึกประมาณการผลประโยชน์ที่ลูกจ้าง ได้รับจากข้อเรียกร้องฯ ที่พนักงานประนอม ไกล่เกลี่ยยุติ ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่ผู้บริหาร ให้ความสนใจ

15 แผนงานด้านแรงงานสัมพันธ์ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ ส่วนภูมิภาค ๘ กิจกรรม
แผนงานด้านแรงงานสัมพันธ์ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ ส่วนภูมิภาค ๘ กิจกรรม งานตามนโยบาย งานเชิงรุก การสรรหาผู้แทนฝ่าย นายจ้าง ฝ่ายลูกจ้าง เพื่อดำรงตำแหน่ง ผู้พิพากษาสมทบใน ศาลแรงงาน งานแก้ไขปัญหา ๑. การส่งเสริมการจัดตั้งและ ดำเนินงาน คกก. ทวิภาคี ๒. การสร้างและพัฒนาระบบ เครือข่ายด้านแรงงานสัมพันธ์ ๓. การตรวจเยี่ยมสถานประกอบการ กลุ่มเสี่ยงเพื่อให้คำปรึกษาแนะนำ และเฝ้าระวังปัญหาความขัดแย้ง ๔. การตรวจเยี่ยมองค์การแรงงาน เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำ และ ติดตามความเคลื่อนไหว ๕. การจัดงานวันแรงงานแห่งชาติ ๑.การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท แรงงานและข้อขัดแย้ง ๒.การจดทะเบียนองค์การ แรงงาน

16 ๑. การดำเนินงานยังไม่เป็นไปตามแผนงาน/เป้าหมายรายเดือน
แผนภูมิเปรียบเทียบแผนงาน/ผลงานรายเดือนของ สสค. กิจกรรมนำส่งผลผลิต : การส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ (แห่ง) ปัญหา ๑. การดำเนินงานยังไม่เป็นไปตามแผนงาน/เป้าหมายรายเดือน ๒. การบันทึกข้อมูลไม่ตรงตามกำหนดเวลา มีการแก้ไขย้อนหลัง ผลงานได้ตามเป้าหมายในไตรมาส ๔

17 แผนภูมิเปรียบเทียบแผนงาน/ผลงานรายเดือนของ สสค
แผนภูมิเปรียบเทียบแผนงาน/ผลงานรายเดือนของ สสค. กิจกรรมนำส่งผลผลิต : การส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ (แห่ง)

18 ภาคกลาง ๗ จังหวัด ภาคเหนือ ๕ จังหวัด ภาคอิสาน ๓ จังหวัด
รายชื่อหน่วยงานที่มีผลงานการส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ ในช่วง ๑๐ เดือนแรกของปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ ของเป้าหมาย (ประมวลผลข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๒) ภาคกลาง ๗ จังหวัด ภาคเหนือ ๕ จังหวัด ภาคอิสาน ๓ จังหวัด ภาคใต้ ๓ จังหวัด พื้นที่ ๖ ๗๙.๖๓% พื้นที่ ๘ ๗๖.๓๙% เพชรบุรี ๕๐% สมุทรสงคราม ๗๓ % สระบุรี ๔๕.๕% สิงห์บุรี ๗๔.๔๔% อ่างทอง ๗๘.๓๘% ตาก ๕๗.๓๓% นครสวรรค์ ๖๕.๗๑% พิษณุโลก ๗๒.๓๑% พะเยา ๖๑.๖๗% อุทัยธานี ๗๓.๓๓% ชัยภูมิ ๖๘.๐๐% นครราชสีมา ๖๓.๒๔% บุรีรัมย์ ๗๗.๕๐% พัทลุง ๕๗.๐๐% ปัตตานี ๗๖.๑๕% ยะลา ๕๒.๐๐%

19 - การพัฒนา- ? ปัจจุบัน คิดให้ไกล

20 - การพัฒนา- อนาคต ไปอย่างไรให้ถึง

21


ดาวน์โหลด ppt นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google