งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) “การถอดบทเรียนชุมชน ในงานด้านพัฒนาสังคม” การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน โดย นายณัทพงศ์ ทองเพ็ง ผู้อำนวยการศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๕

2 สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)

3 “ทำไมต้องถอดบทเรียน”
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส) “ทำไมต้องถอดบทเรียน” ถอดคือ?

4 เป้าหมายของการถอดบทเรียน
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๕ (ศคส.) เป้าหมายของการถอดบทเรียน รายงาน พัฒนางาน ?

5 แนวคิดการถอดบทเรียน เพื่อทบทวน นำไปสู่การพัฒนางานในรอบต่อๆไป
เจ้าของบทเรียนมีส่วนร่วมมากในกระบวนการ ทำก่อน-ระหว่าง-หลังการทำงานใดๆ สกัดความรู้มือหนึ่ง แล้วต่อยอดด้วยความรู้มือสอง เป็นสื่อการเรียนรู้ที่คนนิยม เพื่อผลิตตำราผลงานวิชาการส่งอาจารย์, เจ้าของทุน, เลื่อนขั้น เจ้าของบทเรียนเป็นเพียงผู้ให้ข้อมูล ทำหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ ส่วนใหญ่ review ความรู้มือสองแล้วนำมาเขียน ผลงานขึ้นหิ้ง

6 บทเรียนเป็นความรู้ประเภทหนึ่ง?
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) บทเรียนเป็นความรู้ประเภทหนึ่ง? ความรู้ + ประสบการณ์ =ภูมิปัญญา

7 ความรู้ “ส่วนใหญ่” ... ไม่ได้ “จัดการ”
Explicit Knowledge Tacit Knowledge

8 การจัดการความรู้ ... ต้องเห็นความแตกต่าง ระหว่าง “ความรู้ 2 ประเภท”
วิชาการ หลักวิชา ทฤษฎี (Theory) ปริยัติ มาจากการสังเคราะห์ วิจัย ใช้สมอง (Intellectual) เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์ ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา ปฏิบัติ (Practice) ประสบการณ์ มาจากวิจารณญาณ ใช้ปฏิภาณ (Intelligent) เป็นเทคนิคเฉพาะตัว เป็นลูกเล่นของแต่ละคน Explicit K. Tacit K. VS.

9 การเรียนรู้ของนักเรียนชาวนา
ศูนยคุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) การเรียนรู้ของนักเรียนชาวนา

10 การเรียนรู้ของนักเรียนชาวนา
สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) การเรียนรู้ของนักเรียนชาวนา

11 วิถีของการถอดบทเรียน
สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) วิถีของการถอดบทเรียน ขุดคุ้ยหารากเหง้าของปัญหา มองหาจากความสำเร็จเล็กๆ ?

12 คุณใช้สมองทั้งสองด้านสมดุลหรือไม่?
เหตุผล เหตุปัจจัย Dialogue Discussion Problem-solving Storytelling จินตนาการ ความรู้สึก วิเคราะห์ สังเคราะห์

13 ชุดเครื่องมือ After Action Review Outcome Mapping Storytelling
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๕ (ศคส.) ชุดเครื่องมือ การหวนอดีต Retrospect มาตรวัดในการปฏิบัติPerformance Measurement :PM After Action Review Outcome Mapping Storytelling Peer Assist ถอดบทเรียนทั้งโครงการ ถอดบทเรียนเฉพาะประเด็น

14 After Action Review :AAR
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) “พักยก” After Action Review :AAR

15 AAR บรรยากาศเปิดใจ อิสระ ถอดหัวโขน ถอดยศ ถอดอาวุโส
ศูนย์คุ้มครองสวัดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) AAR บรรยากาศเปิดใจ อิสระ ถอดหัวโขน ถอดยศ ถอดอาวุโส ไม่ใช่การประเมินการทำงาน แต่เน้นการเรียนรู้ร่วมกัน เลี่ยงการวิพากษ์วิจารณ์ตัวบุคคล แต่เป็นความเห็นของแต่ละคนแสดงต่อกลุ่ม “พรรษา” น้อยกว่า พูดก่อน ทำ ทันทีเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจใหม่ๆ ใช้หลัก “สุนทรียสนทนา” เป็นเงื่อนไข

16 Dialogue ฟังทั้งตัว และหัวใจ ไม่ใช่การฟังแบบคล้อยตามทั้งหมด
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) Dialogue ฟังทั้งตัว และหัวใจ ไม่ใช่การฟังแบบคล้อยตามทั้งหมด ไม่ใช่ฟังแบบด่วนสรุป ตัดสิน ใช่-ไม่ใช่ ไม่ตอบโต้ แขวนลอยความคิดตนเองชั่วขณะ ติดตามฟังจนจบ ฟัง...คิด...ไตร่ตรอง...ไตร่ตรอง...ไตร่ตรอง...พูด One Meeting Deep listening ฯลฯ

17 ใครเหมือนคุณ? ก ข ง ค จ ฉ ฟังอย่างลึกซึ้ง ฟังนิด คิดเยอะ ทำท่าทีว่าฟัง
ฟัง-แว๊บไปบ้าง เลือกฟังเฉพาะที่ชอบ ฟังแบบเอาเนื้อหา ฟังอย่างลึกซึ้ง Create slide by Thawat KMI, photo by concepted by David Straker

18 ชุดคำถาม AAR คาดหวังอะไรบ้างก่อนจะเข้ามาเรียน?
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๕ (ศคส.) ชุดคำถาม AAR คาดหวังอะไรบ้างก่อนจะเข้ามาเรียน? ทำแล้วมีอะไรบ้างที่ได้มากเกินกว่าที่คาดหวังเอาไว้? ทำแล้วมีอะไรบ้างที่ได้น้อยกว่า หรือยังไม่ได้ตามที่คาดหวังเอาไว้ โอกาสหน้าควรปรับปรุงอะไรบ้าง? กลับไปมีไอเดียอะไรบ้างที่จะปรับปรุงตนเอง?

19 “เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist)
ศูนย์คุ้ครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๕ (ศคส.) “เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist)

20 Peer Assist เพื่อนช่วยเพื่อน

21 Peer Assist : เพื่อนช่วยเพื่อน

22 Peer Assist Learning before doing คว้าความรู้ (ปฏิบัติ) จากภายนอก
ศูนย์คุ้ครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๕ (ศคส.) Peer Assist Learning before doing คว้าความรู้ (ปฏิบัติ) จากภายนอก สนใจเนื้อหาเฉพาะเรื่อง (focal issue) มีทีมเหย้า – ทีมเยือน คุณกิจตัวจริง พบ คุณกิจตัวจริง

23 ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.)
แผนที่ผลลัพธ์ Outcome Mapping

24 หัวใจของการพัฒนา คือความยั่งยืน
หัวใจของความยั่งยืน คือการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ กรอบแนวคิด และพฤติกรรมของผู้คนที่เกี่ยวข้องในกระบวนการพัฒนา เป้าหมายหลัก จึงต้องสร้างความเป็นเจ้าของ (Ownership) กระบวนการพัฒนาเพื่อการเปลี่ยนแปลงของผู้ที่เกี่ยวข้อง

25 หลักคิดของ Outcome Mapping
Change agent involvement Organization ownership Time Inputs Activities Outputs Outcomes Big Picture Behavioural Changes

26 PMs PRACTICES “ต้นสังกัดเรา” สข. ที่สนับสนุน strategy องค์กร/แผนงาน
สก. Level A กทม. “เรา” โครงการ STRATEGY ที่ทำให้เกิด OC (PM) strategy strategy Level B strategy VISION MISSION DP1 DP2 DP3 บ้าน วัด โรงเรียน. OC1 PM1 Level C OC2 PM2 PMs OC3 PM3

27 ตัวอย่าง “โครงการ” เด็กไทยไม่กินหวาน (ราชบุรี)
1. Vision วิสัยทัศน์ (Vision) เด็กราชบุรีทุกคนได้รับการเลี้ยงดูที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการตั้งแต่แรกเกิดจนถึง ๑๒ ปี อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการไม่กินหวาน ได้รับการพัฒนาสมรรถนะจนสามารถเลือกบริโภค อาหาร ขนม และเครื่องดื่มที่มีปริมาณน้ำตาลที่พอเหมาะนำสู่สุขภาวะที่ดี พันธกิจ (Mission) ๑. สร้างค่านิยมการไม่กินหวานและผลักดันเป็นนโยบายสาธารณะ ๒. บูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ๓. สร้างเครือข่ายความร่วมมือไม่กินหวาน 2. Mission

28 เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมศักยภาพ
Impact Outcome โรงเรียน บ้าน เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมศักยภาพ วัด องค์กรท้องถิ่น แผนงานเด็กไทยไม่กินหวาน

29 ตัวอย่าง Progress Marker ของ OC ผู้ปกครอง
Outcome Challenge Expect to See Like to See Love to See ๕. เกิดครอบครัว “อ่อนหวาน” ต้นแบบ (สอนลูก-พาลูกทำ, เป็นแบบอย่างให้ลูก เช่น การประกอบอาหาร เลือกซื้ออาหาร บริโภคอาหาร ฯลฯ) ๔. นำความรู้ นำข้อตกลงไปไปปฏิบัติ ๑. ให้ความร่วมมือ เข้าร่วมประชุม ๒. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๓. ได้แนวทางข้อตกลง

30 เรื่องเล่าเร้าพลัง (Success Storytelling)
ศูฯย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) เรื่องเล่าเร้าพลัง (Success Storytelling)

31 Storytelling เรื่องเล่าความสำเร็จ (เล็กๆ)
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) Storytelling เรื่องเล่าความสำเร็จ (เล็กๆ) เครื่องมือดึงศักยภาพของคน

32 “คุณอำนวย” (Facilitator)
ผู้ทำหน้าที่อำนวยความสะดวกให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ลื่นไหล ไม่หลุดนอกประเด็น สร้างบรรยากาศเชิงบวกและความชื่นชมยินดี ดำเนินการให้สมาชิกกลุ่มหมุนเวียนผลัดกันเล่าเรื่องความสำเร็จอย่างทั่วหน้า คอยตั้งคำถามและกระตุ้นให้เล่าความรู้ฝังลึกออกมา

33 “คุณกิจ” (Knowledge Practitioner)
ผู้ที่ขลุกอยู่กับเนื้องาน โดยตรง เป็นผู้นำเสนอความสำเร็จหรือการทำงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผ่าน “เรื่องเล่าเร้าพลัง”

34 คุณลิขิต (Note Taker) ผู้จดประเด็น บันทึก “ขุมความรู้” จากเรื่องเล่า ของสมาชิกในกลุ่ม

35 เล่าเหตุการณ์(งาน)ที่ประทับใจเล็กๆ
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) Exercise ผู้เล่า เล่าเหตุการณ์(งาน)ที่ประทับใจเล็กๆ เล่าว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร เล่าให้เห็นตัวละคร อารมณ์ ความรู้สึก ไม่เล่าแบบตีความ ไม่เล่าแบบตีไข่ ใส่สี

36 ฟังด้วยใจ deep listening
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๕ (สคส.) ผู้ฟัง ฟังด้วยใจ deep listening ฟัง..คิด..ไตร่ตรอง..ไตร่ตรอง ถาม ตั้งคำถามเชิงชื่นชม ระวัง “เสียงในหัว” ของท่านเอง แขวนไว้ก่อน ค้นหา คุณค่าดีๆ ให้ความหมาย ระวังสิ่งที่จะทำให้บรรยากาศของการเล่าเรื่องสะดุด อาทิ เสียงมือถือ, ลุกเข้าออก ฯลฯ one meeting

37 ชื่อเรื่อง เนื้อเรื่อง How-to เจ้าของเรื่อง ขุมความรู้
ตัวอย่างเรื่องเล่า ชื่อเรื่อง ถอนหลัก ปักเขต เมื่อครั้งได้รับมอบหมายจากหน่วยงานต้นสังกัด ให้ออกไปสำรวจอาณาเขตของพื้นที่ป่าสงวน แต่หลังจากได้สำรวจพื้นที่แล้วเสร็จ และได้เริ่มปักหมุดอาณาเขตของพื้นที่ พบว่าหมุดคอนกรีตที่ปักไปแล้วนั้น ถูกถอนและทำลาย ทำให้ต้องใช้เวลามากขึ้น และยากทีจะคาดการณ์ได้ว่าภารกิจนี้จะเสร็จสิ้นได้เมื่อใด และเมื่อต้องได้รับคำสั่งสำทับมาอีกว่าต้องรีบทำให้เสร็จในเวลาอันสั้น ทำให้คนทำงานยิ่งเครียดเพราะงานไม่เป็นไปตามคุยวางแผนการทำงานยังไม่รู้ว่าจะแก้ไขปัญหานี้ได้อย่างไร งานสำรวจก็ต้องหยุดชะลอไว้ก่อน จนในที่สุดสมาชิกในทีมงานเสนอไอเดียใหม่ ให้ทดลองตัดหลักหมุดคอนกรีตแยกออกเป็น 2 ท่อน และนำไปฝังในดินตามแนวอาณาเขตที่สำรวจไปแล้ว เพื่อจะสังเกตดูว่าได้ผลตามที่คาดไว้หรือไม่ ในที่สุดก็พบว่าชาวบ้านมาขุดและถอนทำลายทิ้งเช่นเดิม แต่ถอนเฉพาะท่อนบนของหลัก โดยไม่ถอนท่อนล่าง ทำให้งานสำรวจของเราเดินหน้าต่อไปได้ ผู้เล่าเรื่อง หน่วยงาน เบอร์โทร ………………………………………………… คำสำคัญ การปักหมุดเขตแดนพื้นที่พิพาท, หลักหมุดคอนกรีตพื้นที่พิพาท, เนื้อเรื่อง How-to เจ้าของเรื่อง ขุมความรู้

38 ชื่อเรื่อง เนื้อเรื่อง ขุมความรู้ เจ้าของเรื่อง
ตัวอย่างเรื่องเล่า ชื่อเรื่อง รูดปื้ด...รูดปื้ด บ่อยครั้งที่ต้องรับงานเข้าเล่มเอกสาร วิธีการเข้าเล่มก็ทำแบบเดิมที่เคยทำมา คือนำต้นฉบับมาถ่ายเอกสาร แล้วมาวางเรียงตามลำดับหน้า จากนั้นก็ค่อยๆ หยิบมาตามลำดับที่เรียงวางไว้ แต่ปัญหาที่เจอบ่อยมาก ก็คือ การเข้าเล่มช้า ขั้นตอนหนึ่งที่มีผลต่อเรื่องนี้มาก ก็คือ ขั้นตอนการหยิบเอกสารแต่ละแผ่นจากกองที่วางเรียงไว้มารวมเป็นเล่มนั่นเอง หลายครั้งที่หยิบกระดาษแล้วติดมือมามากกว่า 1 แผ่น ถึงแม้บางครั้ง เราจะมีสิ่งที่ช่วยให้หยิบง่าย เช่น นิ้วแตะน้ำ หรือ นิ้วแตะบางอย่างคล้ายๆ ครีม แล้วมาหยิบกระดาษ แต่ก็ยังมีบ่อยครั้งที่ยังหยิบซ้อนไป บางครั้งน้ำที่เตรียมไว้หกรดกระดาษ แย่หนักไปอีก บางครั้งครีมที่ว่านั่น ยากครับ ไม่มีงบมาซื้อให้หรอก ต้องควักกระเป๋าซื้อมาเอง ที่ร้ายที่สุด คือ ต้องมานั่งนับที่ละเล่มว่า ที่หยิบกระดาษซ้อนกันไปนั้น มันไปอยู่ที่เล่มไหน เสียเวลาไปอีกมากเลย ยังไม่นับครั้งที่ง่วงนอนขณะเรียงกระดาษ ครั้งหนึ่งปิ้งไอเดียจากความบังเอิญ ที่เห็นจากที่อุปกรณ์เก็บฝุ่น เศษผม ขนที่ติดเสื้อผ้า เลยมองหาอุปกรณ์ที่คล้ายๆกัน และต้องเป็นสิ่งที่หาง่ายมีในสำนักงาน แล้วก็พบอุปกรณ์อย่างหนึ่งที่คิดว่าใกล้เคียง นั่นก็คือ “เทปกาวย่น” จึงลองนำมาทดลองดู โดยนำมาพันนิ้วที่ต้องสัมผัสกับกระดาษ เพียงแค่แตะเบาๆ กระดาษก็ติดนิ้วมา และติดมาแผ่นเดียว คือ แผ่นแรกสุด ทำให้การเข้าเล่มของเราใช้เวลาลดลงไปกว่าแต่ก่อน ยิ่งทำบ่อยๆ ก็จะรู้เทคนิควิธีการแตะกระดาษว่าควรลงน้ำหนักนิ้วประมาณไหน จนเดี๋ยวนี้ดีขึ้นแล้วครับ ผู้เล่าเรื่อง หน่วยงาน ฝ่ายธุรการ กฟผ.- แม่เมาะ. เบอร์โทร ………………………………………………… คำสำคัญ เทคนิคการเรียงกระดาษ, เข้าเล่มอย่างไรให้เร็วขึ้น, แก้ปัญหากระดาษติดซ้อนกัน,เคล็ดลับงานธุรการ เนื้อเรื่อง ขุมความรู้ เจ้าของเรื่อง

39 “Storytelling” - เครื่องมือสำหรับเล่าเรื่อง ไม่ใช่มีแค่เล่าโดย
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) “Storytelling”          - เครื่องมือสำหรับเล่าเรื่อง   ไม่ใช่มีแค่เล่าโดย วาจา   ไม่ใช่แค่ใช้ปาก (และสมอง) คน          - กล้องถ่ายรูปแบบดิจิตอล   ช่วยการเล่าเรื่อง ได้มาก          - การวาดรูป   เป็นเครื่องมือเล่าเรื่องอย่างหนึ่ง          - การทำ "หนังสั้น"   เป็นเครื่องมือเล่าเรื่องอย่างหนึ่ง          - การจัดละคร   เป็นการเล่าเรื่องได้          - วีซีดี วิจารณ์ พานิช, 24 เม.ย. 2549

40 ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๕ (ศูคส.)
“ถอดบทเรียน” “วิธีการจัดการความรู้รูปแบบหนึ่งที่เน้นเสริมสร้างการเรียนรู้ในกลุ่มที่เป็นระบบเพื่อสกัดความรู้ฝังลึกในตัวคนและองค์ความรู้ของท้องถิ่นออกมาเป็นบทเรียนที่สามารถนำไปสรุปและสังเคราะห์เป็นชุดความรู้ คู่มือ สื่อรูปแบบต่างๆ โดยผลที่ได้จากการถอดบทเรียนนอกจากเรื่องของสื่อชุดความรู้แล้ว สิ่งสำคัญที่สุดคือ ผู้ร่วมกระบวนการถอดบทเรียนจะต้องเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำมาซึ่งการปรับวิธีคิด และวิธีการทำงานที่สร้างสรรค์ และมีคุณภาพยิ่งขึ้น” กนกภรณ์ ชูเชิด และสกรรจ์ พรหมศิริ, การถอดบทเรียน – วิธีวิทยาเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้สำหรับนักปฏิบัติภาคประชาสังคม, 2548

41 ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.)
“ถอดบทเรียน” “การถอดบทเรียนเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการจัดการความรู้ โดยเป็นกระบวนการดึงเอาความรู้จากการทำงานออกมาใช้เป็นทุนในการบริหารจัดการในเรื่องที่ยากหรือซับซ้อนขึ้นไปจากเดิม” ศุภวัลย์ พลายน้อย, นานาวิธีการถอดบทเรียน, คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2551

42 การจัดการความรู้ BoK Knowledge Asset 3 มุมมอง Learning Sharing CoP PoK
ความรู้ในกระดาษ การจัดการความรู้ Body of Knowledge 3 มุมมอง Learning KM ที่สมบูรณ์ ควรมีทั้งสามส่วน Sharing ความรู้ในเครือข่าย ความรู้ในคน CoP PoK Community of Practice Process of Knowing

43 ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขค ๕ (ศคส.)
มีคำถาม เชิญครับ!

44 “ถอดบทเรียน” “บทเรียนแห่งชีวิต?” ต้องเปลี่ยนวิธีคิด ดึงเอาความรู้ในคน
ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน เขต ๕ (ศคส.) “ถอดบทเรียน” “บทเรียนแห่งชีวิต?” ต้องเปลี่ยนวิธีคิด ดึงเอาความรู้ในคน มาพัฒนาโดยใช้กระบวนการ วิทยากรกระบวนการ อาจารย์ณัทพงศ์ ทองเพ็ง


ดาวน์โหลด ppt การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google