งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยกระดับงานประจำให้เป็นวิจัย R2R: คำถามงานวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยกระดับงานประจำให้เป็นวิจัย R2R: คำถามงานวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยกระดับงานประจำให้เป็นวิจัย R2R: คำถามงานวิจัย
ศาสตราจารย์สมบูรณ์ เทียนทอง ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เขียนชื่อโครงการวิจัยและคำถามงานวิจัย

2 ยกระดับงานประจำให้เป็นวิจัย R2R:
ทำอย่างดี ทำให้มีคุณภาพ ได้อย่างไร 1. คำถามงานวิจัยที่ดี 2. ระเบียบวิธีวิจัยที่ดี/เหมาะสม 3. ระบบสนับสนุนที่ดี (รวมที่ปรึกษา) เขียนชื่อโครงการวิจัยและคำถามงานวิจัย

3 ที่มาของคำถามงานวิจัย
ความเห็น ข้อร้องเรียน ผู้รับบริการ ผู้เกี่ยวข้อง (Survey, Focus group, report, etc.) สถิติ ความเสี่ยง (Data, information) ตัวชี้วัดคุณภาพที่ต้องรายงาน Workflow lean and waste CQI/Innovation Goal or Policy วิจัยสถาบัน Others LEAN_R2R

4 กรณีไม่มีปัญหา:ใช้มิติของคุณภาพแทน Q: จะทำอย่างไรให้คุณภาพดียิ่งขึ้น?
Accessibility Appropriateness Acceptability Competency Continuity Coverage Effective/ Efficiency Equity Humanized/Holistic Responsive Safety Timeliness หลายมิติก็ได้

5 จัดลำดับความสำคัญของปัญหา
อะไรคือปัญหาสำคัญ พูดคุย ปรึกษากันในทีม เริ่มจากปัญหาเร่งด่วน ระดมสมอง ให้คะแนน หัวข้อ คะแนน (0-5) Relevance 5 Duplication - Feasibility 4 Cost-effectiveness Timeliness Ethics Acceptability Application รวม 19/20

6 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Risk)
5 (5) (10) (15) (20) (25) 4 (4) (8) (12) (16) 3 (3) (6) (9) 2 (2) 1 (1) ผลกระทบ คะแนน Low = 1-2 Medium = 3-9 High = 10-16 Extreme= 17-25 โอกาสเกิด

7 Problem analysis and statement
-เพื่อจะหาสาเหตุของปัญหาให้ครอบคลุมประเด็นหลักที่จะทำการศึกษา -ระบุขอบเขตที่จำทำการศึกษาในครั้งนี้ Problem statement แปลงประเด็นปัญหาให้เป็นภาษาเขียน

8 การค้นหาสาเหตุของปัญหา
ปัญหาเกิดจากอะไร RCA, 5why, ผังก้างปลา ทำไมผู้ป่วย CAPD ถึงเกิด malnutrition, 5 why ร่วมกับผังก้างปลา

9 การค้นหาสาเหตุของปัญหา

10 ปัญหาทุกอย่างไม่จำเป็นต้องหาคำตอบด้วยการทำวิจัย
แต่อาจแก้ปัญหาด้วยเครื่องมือคุณภาพต่างๆ ปัญหาที่ไม่ควรทำวิจัย Can the problem be solved by administrative change? Are there already solutions available that can be used? Is there data showing that it is not a significant problem? (Problem list/Literature review)

11 สรุปการทบทวนและเลือกคำถามงานวิจัย
ปัญหา? ตกผลึก ต้องทำวิจัยหรือไม่ เช่น.. ทบทวน ? มีข้อมูล เพียงพอ ข้อมูลไม่ เพียงพอ สร้างความรู้ ? X ใช้ความรู้ นำไปใช้ ทำวิจัย (โครงร่างงานวิจัย)

12 การ Refine (เหลา) คำถาม ให้คมชัด
PICO for clinical problems P = problem I = intervention C = comparison O = outcome

13 ตัวอย่างการเหลาคำถามให้คมชัด
“ปัจจัยหรือสาเหตุอะไรบ้างที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ของเด็กวัยเรียน” P = การตั้งครรภ์ของเด็กวัยเรียน O = ปัจจัยหรือสาเหตุ คำถาม: 1 คำถามชัดไม๊, 2 เป็น r2r ไม๊, 3 research designจะเป็นแบบไหน

14 ตัวอย่างการเหลาคำถามให้คมชัด
“บุคลากรในหน่วยงานปฏิบัติตาม VAP bundle ได้ดีแค่ไหนและมีประเด็นใดที่สามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้บ้าง” P = VAP O = การปฏิบัติตาม VAP bundle ของบุคลากร คำถาม: 1 คำถามชัดไม๊, 2 เป็น r2r ไม๊, 3 research designจะเป็นแบบไหน

15 ตัวอย่างการเหลาคำถามให้คมชัด
“การดื่มน้ำปริมาณ 500 ซีซี จะต้องรอนานแค่ไหน จึงจะทำการตรวจอัลตราซาวด์ทางนรีเวชฯ ได้ชัดเจน” P = การตรวจอัลตราซาวด์ทางนรีเวชฯ I = การดื่มน้ำปริมาณ 500 ซีซี O = เวลา คำถาม: 1 คำถามชัดไม๊, 2 เป็น r2r ไม๊, 3 research designจะเป็นแบบไหน

16 ตัวอย่างการเหลาคำถามให้คมชัด
“จะต้องรอนานแค่ไหน จึงจะทำการตรวจอัลตราซาวด์ทางนรีเวชฯ ได้ชัดเจน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างการดื่มน้ำปริมาณ 300 ซีซี กับ 500 ซีซี ” PIO, C = ชัดเจน เปรียบเทียบระหว่างการดื่มน้ำปริมาณ 300 ซีซี กับ 500 ซีซี คำถาม: 1 คำถามชัดไม๊, 2 เป็น r2r ไม๊, 3 research designจะเป็นแบบไหน

17 QA

18 การทบทวนวรรณกรรม มีใครทำการศึกษาเรื่อง (ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา) นี้บ้าง ทบทวนให้ครอบคลุม conceptual framework มีประเด็นใดที่ยังไม่มีคำตอบ หรือคำตอบไม่ชัดเจนบ้าง การวิจัยที่เราจะทำตอบปัญหาในประเด็นใด ทักษะที่ต้องใช้ รู้จักค้นหาข้อมูลจากฐานต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ (ตัวอย่าง) รู้จักวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่หาได้ จดประเด็นที่ค้นหาได้ให้เป็นระบบ (ตาราง)

19 ตัวอย่างการทบทวนวรรณกรรม (VAP)
อุบัติการณ์ของ VAP ที่เป็นมาตรฐานไม่ควรเกิน....% (Ref) (ถ้าเป็นอาการแสดง เช่นโรคเบาหวาน อยู่ระหว่าง 1-2% ref 2 ชื่อ) อุบัติการณ์ VAPของหน่วยงานเรา = % รายงาน (คนอื่น) ที่สามารถลด VAP ได้ดีอยู่ที่ ...% (Ref) เขาทำได้อย่างไร ....ระบุวิธีการ วิธีการใดที่ใช้แล้วไม่ได้ผล ระบุวิธีการ พร้อม Ref ประเด็นใดที่ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจน ระบุ (อาจมีหลายประเด็น) (Ref)

20 การเขียนวัตถุประสงค์ของงานวิจัย
เพื่อจะบอกว่าเราจะทำการศึกษาในประเด็นใดบ้าง แบ่งเป็น 2 ประเด็น General: กว้างๆ เช่น ต้องการศึกษาอุบัติการณ์ของความปวดหลังผ่าตัด Specific : เฉพาะ เช่น ต้องการศึกษาอุบัติการณ์ของความปวดหลังผ่าตัดช่องท้อง ต้องการศึกษาอุบัติการณ์ของความปวดหลังผ่าตัดคลอด

21 การออกแบบงานวิจัย What is the best way to do it?
Study Types Interventional Experimental/ Quasi- experimental Observational Cross-sectional Studies Case-control & Cohort Clinical trials Q: why when where who How?

22 ตัวแปรต่างๆ ที่จะวัดผล
ตัวกวน Confounding (การศึกษาแม่) PICO [O = outcomes] ต้องการวัดอะไรบ้าง 3 ประเด็นหลัก วัดอย่างไรให้ถูกต้อง define ให้ชัด เลือกวิธีวัดให้ชัด [categorical เพศ เชื่อชาติ ระดับ numerical อายุ น้ำหนัก ] งานคุณภาพให้วัดหลายมิติ (ความพึงพอใจไม่ใช่ตัววัดที่ดีนัก) เหตุ Independent (แม่สูบบุหรี่) ผล Dependent (น้ำหนักลูก)

23 ตัวอย่างการวัดผลตัวแปรต่างๆ
วิธีการดำเนินการวัดตัวแปร การวัดผล ความพึงพอใจ โดยการสัมภาษณ์ โดยการส่ง 5 ระดับ พอใจมากที่สุด  ไม่พอใจ ความดันเลือด (สูง =?) ให้นั่งพัก วัดขณะนั่ง วัด 3 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย เครื่องวัดรุ่น ใครวัด หน่วยเป็น มมปรอท

24 ฐานข้อมูลในประเทศ TCI Thailand.digitaljournal.org สวรส. R2R
ฐานข้อมูลของโรงเรียนแพทย์ต่างๆ สำนักวิจัยแห่งชาติ วิทยานิพนธ์มหาวิทยาลัยต่างๆ วารสารหน่วยงาน (local journal)

25 ตารางช่วยอ่าน (Evidence Table)
Population No. Author Year Population Sample Number Age Country Setting 1. ชื่อนักวิจัย 2550 หญิงไทย ปี 50 ราย 35-60 ปี ไทย โรงพยาบาลชุมชน จ.สุพรรณบุรี Methods No. Author Year Obj. Design Theory ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม เครื่องมือ Sampling การรวบรวมข้อมูล สถิติ Finding No. Author Year Result Note Sig. Nursing จุดเด่น ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ

26 เกณฑ์การให้คะแนนProposal R2Rคณะแพทยศาสตร์
ปรับปรุง ผ่าน คำถามวิจัยมาจากปัญหาประจำใช่หรือไม่ ได้ทบทวนขนาดของปัญหาในคำถามวิจัยในหน่วยงานหรือไม่ ได้จัดลำดับความสำคัญของปัญหาในหน่วยงานหรือไม่ ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องทำวิจัยหรือไม่ การทบทวนองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง รูปแบบ วิธีการทำวิจัย และการวัดผล เหมาะสมหรือไม่ ระดับความคิดสร้างสรรค์ คำตอบจากการวิจัยสามารถนำไปแก้ปัญหาการทำงานได้หรือไม่ แผนการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์มีหรือไม่ การเผยแพร่ผลงาน ผู้วิจัยและทีมงาน สามารถสร้างความเข้มแข็งของบุคลากรในหน่วยงานได้หรือไม่ ? พิจารณาทุน งบประมาณเหมาะสม? อะไรที่ไม่สนับสนุน ทุน มข (?)

27 ชนิดงานวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัย (R2R:2554)
จำนวน Descriptive 37 Action/PAR 21 Clinical Trial/RCT 11 Experimental (Quasi, innovation) Others 6 รวม 112

28 โครงร่าง Proposal ขื่อเรื่อง (ชื่อผู้วิจัย หน่วยงาน) บทนำ
ขนาดและทีมาของปัญหา ทบทวน วัตถุประสงค์ (ทั่วไป และเฉพาะ) วิธีการศึกษา (ครอบคลุมทุกขั้นตอน) อ้างอิง ผนวก (แบบสอบถาม เครื่องมือ)

29 Material and Method รูปแบบการศึกษา ข้อพิจารณาทางจริยธรรม
ตัวแปรต่างๆ ที่จะวัดผล ขนาดตัวอย่าง การสุ่ม วิธีการเก็บข้อมูลให้น่าเชื่อถือ การวางแผนวิเคราะห์ข้อมูล การบริหารโครงการ (Gantt chart)


ดาวน์โหลด ppt ยกระดับงานประจำให้เป็นวิจัย R2R: คำถามงานวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google