งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Introduction to Statistics นางสาววันดี เอียดแก้ว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Introduction to Statistics นางสาววันดี เอียดแก้ว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Introduction to Statistics นางสาววันดี เอียดแก้ว
นางสาววันดี เอียดแก้ว รหัส

2 ผังมโนทัศน์

3 หัวข้อศึกษา 1.1 What is Statistics ? 1.2 Types of Statistics
1.3 Population Versus Sample 1.4 Basic Terms

4 หัวข้อศึกษา(ต่อ) 1.5 Types of Variables
1.6 Cross-Section Vs Time-Series Data 1.7 Sources of Data 1.8 Summation Notation

5 1.1 What is Statistics ? สถิติหมายถึงข้อเท็จจริง ตัวเลข เช่น จำนวนที่แสดงรายได้ของครอบครัว อายุของนักเรียน ร้อยละของผู้สอบผ่านและเงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต สถิติเป็นกลุ่มวิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวม นำเสนอ วิเคราะห์และตีความข้อมูลรวมถึงการตัดสินใจ

6 1.2 Types of Statistics 1.2.1 Descriptive Statistics
ประกอบด้วยวิธีการจัดแสดงและอธิบายข้อมูลโดยใช้ตารางกราฟและการสรุป 1.2.2 Inferential Statistics วิธีการศึกษาเพียงบางส่วนของประชากรและผลที่ได้ใช้การตัดสินใจหรือการคาดการณ์เกี่ยวกับประชากร

7 1.3 Population VS Sample Population ประกอบด้วยลักษณะที่มีการศึกษาทั้งหมด เช่น บุคคล รายการหรือวัตถุ ประชากรที่ต้องการศึกษาเรียกว่าประชากรเป้าหมาย Sample หมายถึงส่วนของประชากรที่เลือกมาใช้ในการศึกษา

8 รูปที่ 1.1 แสดงการเลือกตัวอย่างจากประชากร
Population Sample

9 1.3 Population VS Sample (ต่อ)
Census and Sample Survey การสำมะโนประชากรและการสำรวจ Representative Sample กลุ่มตัวอย่าง Random Sample ตัวอย่างสุ่ม

10 1.4 Basic Terms Element or Member Variable Observation or Measurement
Data Set

11 ชื่อบริษัท ผลกำไร (ล้าน)
ตารางที่ 1.1 แสดงผลกำไรของบริษัท 7 บริษัทในสหรัฐอเมริกา ชื่อบริษัท ผลกำไร (ล้าน) Wal-Mart Stores 10,267 Exxon 25,330 General Electrical 16,593 Citigroup 17,046 Home Depot 5001 ตัวแปร ค่าที่ได้จากการสังเกตหรือค่าจากการวัด องค์ประกอบ หรือสมาชิก

12 1.5 Types of Variables 1.5.1 Quantitative variables (เชิงปริมาณ)
Discrete variables (ไม่ต่อเนื่อง) เช่น จำนวนรถ บ้าน คนที่ไปธนาคาร จำนวนสัตว์เลี้ยง Continuous Variable (ต่อเนื่อง) เช่น เวลา ความสูง น้ำหนัก ปริมาณโซดา ผลผลิตของมันฝรั่ง

13 1.5.2 Qualitative or Categorical Variables
ตัวแปรที่ไม่สามารถวัดค่าเป็นตัวเลขแต่สามารถแบ่งแยกประเภทได้ เช่น สถานะของนักศึกษาในวิทยาลัย เพศของบุคคล สีผมและสีของรถยนต์

14 รูปที่ 1.2 แสดงประเภทของตัวแปร
ตัวแปรเชิงปริมาณ ตัวแปรเชิงคุณภาพ เช่น สีผม, เพศ, ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ตัวแปรต่อเนื่อง เช่น ความยาว,อายุ,น้ำหนัก,ส่วนสูง,เวลา ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง เช่น จำนวนบ้าน, รถยนต์, อุบัติเหตุ

15 1.6 Cross-Section Vs Time-Series Data
Cross-section data ข้อมูลที่เก็บในองค์ประกอบที่แตกต่างกันที่จุดเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน Time-Series Data ข้อมูลชุดหนึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับองค์ประกอบเดียวกันในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน

16 ตาราง 1.2 แสดงจำนวนเฉลี่ยผู้เข้าชมการพูด
Talk Show ผู้เข้าชม (ล้านคน) Dr. Phil Maury Jerry Springer 3.3 Montel Williams 3.2 Ellen

17 ตาราง 1.3 จำนวนการปะทะกันระหว่างสัตว์ป่าและเครื่องบินพลเรือน
ปี ค.ศ. Number of Collisions

18 1.7 Sources of Data แหล่งภายใน เช่น แฟ้มประวัติบุคคลของบริษัทหรือบันทึกทางบัญชี แหล่งภายนอก เช่น สื่อ สิ่งพิมพ์ นโยบายแห่งสหรัฐอเมริกา หรือการสำรวจและการทดสอบ เวบไซด์ต่าง ๆ เช่น

19 1.7 Sources of Data (ต่อ) www.census.gov (สำนักสำมะโนประชากร)
(สำนักแรงงานสถิติ) (กรมอนามัยในสหรัฐ) (กรมการเกษตรในสหรัฐอเมริกา)

20 1.8 Summation Notation เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนผลรวมของค่าต่างๆ ใช้อักษรกรีก ∑(ซิกมา) เช่น ราคาของหนังสือห้าเล่มเป็น ดังนี้ 75, 80, 35, 97 และ 88 สามารถเขียนได้ดังนี้

21 1.8 Summation Notation(ต่อ)
ราคาของหนังสือเล่มที่หนึ่ง = X1 = 75 ราคาของหนังสือเล่มที่สอง = X2 = 80 ราคาของหนังสือเล่มที่สาม = X3 = 35 ราคาของหนังสือเล่มที่สี่ = X4 = 97 ราคาของหนังสือเล่มที่ห้า = X5 = 88 ในทำนองเดียวกัน แสดงจำนวนหนังสือ

22 ตัวอย่าง 1.1 เงินเดือนของพนักงานสี่คนเป็นดังนี้ 75, 42, 125 และ 61 (พัน)
จงหา a. ∑X b. (∑X)2 c. ∑X2 วิธีทำ a. ∑X = X1 + X2 + X3 + X4 = = 303

23 b. (∑X)2 เป็นการยกกำลังสองของผลรวมของ X ดังนั้น (∑X)2. = (303)2
c. ∑X2 = (75)2 +(42)2 +(125)2 +(61)2 = 5, , = 26,735

24 ตัวอย่าง 1.2 ตารางแสดงค่าของตัวแปรดังนี้ m 12 15 20 30
f จงหา a. ∑m b. ∑f2 c. ∑mf d. ∑m2f

25 m f f2 (5)2 = 25 (9)2 = 81 (10)2 = 100 (16)2 = 256 ∑m=77 ∑f= ∑f2=462

26 mf m2f 12(5) = 60 (12)2(5) = 720 15(9) = 135 (15)2(9) = 2025
12(5) = 60 (12)2(5) = 720 15(9) = 135 (15)2(9) = 2025 20(10) = 200 (20)2(10) = 4000 30(16) = 60 (30)2(16) = 14,400 ∑mf= 875 ∑m2f= 21,145

27 จากตารางสามารถอธิบายได้ดังนี้
- คอลัมน์แรกแสดงค่าของ ตัวแปร m ผลรวมของค่าเหล่านี้เท่ากับ 77 - คอลัมน์ที่สองแสดงค่าของ ตัวแปร f ผลรวมของคอลัมน์นี้เท่ากับ 40 - คอลัมน์ที่สามนำค่าของ f มายกกำลังสอง เช่น ค่าแรกคือ 25 เป็นการนำ 5 มายกกำลังสอง ผลรวมของค่าในคอลัมน์นี้เท่ากับ 462 - สี่คอลัมน์ที่สี่นำค่าของ m และค่า f ตรงกัน เช่นค่าแรก 60 ในคอลัมน์นี้ได้โดยนำ 12 และ 5คูณกัน ผลรวมของค่าในคอลัมน์นี้เท่ากับ 875 - ถัดไปนำค่า m ที่ยกกำลังสองแล้วคูณด้วยค่า f ที่ตรงกัน ผลที่ได้นำไปบันทึกในคอลัมน์ที่ห้า เช่นค่าแรก 720 เป็นค่าที่ได้โดย 12 ที่ยกกำลังสองแล้วคูณด้วย 5 ผลรวมของค่าในคอลัมน์นี้ให้เท่ากับ 21,145

28 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt Introduction to Statistics นางสาววันดี เอียดแก้ว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google