งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสนับสนุนโครงการวิจัย ของ สวทช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสนับสนุนโครงการวิจัย ของ สวทช."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสนับสนุนโครงการวิจัย ของ สวทช.
รศ.นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การติดตามและประเมินผลโครงการวิจัย” กรมวิชาการเกษตร 25 กรกฎาคม ณ กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพ

2 จัดตั้งขึ้นตาม พรบ. พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ. ศ
จัดตั้งขึ้นตาม พรบ. พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ ให้มีหน้าที่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และคุณภาพชีวิตที่ดี สวทช. ผลักดัน ระดับ นโยบายชาติ ดำเนินการและสนับสนุน วิจัยและพัฒนา ออกแบบ วิศวกรรม พัฒนาคน ถ่ายทอดเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐาน ระดับสนับสนุน และจัดการวิจัย ผลักดัน ระดับ ปฏิบัติการวิจัย ฐานความรู้ทาง ว&ท ผลักดัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3 วิสัยทัศน์ “สวทช. มุ่งมั่น เป็นพันธมิตร และกำลังสำคัญที่นำประเทศไทยสู่สังคมฐานความรู้ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” พันธกิจ สวทช. มุ่งสร้าง การวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน อย่างยั่งยืนของประเทศ พร้อมทั้งดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิผลสูงสุด

4 R&D Goals Good system to respond to country’s needs.
R&D management Excellence Excellent product development pipeline Good relationship with stakeholder Delivering R&D and knowledge products

5 กิจกรรมการวิจัยของสวทช.
โครงการวิจัย โปรแกรมวิจัย กลุ่มโปรแกรม หรือ คลัสเตอร์

6 การจัดกลุ่มและโปรแกรมการวิจัยภายใน สวทช.
คลัสเตอร์อาหาร และการเกษตร คลัสเตอร์การแพทย์ และสาธารณสุข คลัสเตอร์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม คลัสเตอร์ซอฟต์แวร์ ไมโครชิปและ อิเล็กทรอนิกส์ คลัสเตอร์ยานยนต์ และขนส่ง คลัสเตอร์สิ่งทอ และเคมีภัณฑ์ กลุ่มโปรแกรมชุมชน ชนบทและผู้ด้อยโอกาส กลุ่มโปรแกรม Platform Technology

7 สมาคมวิชาชีพ (ที่เกี่ยวข้อง)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผน S&T ประเทศ ก สาธารณสุข แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 10 สมาคมวิชาชีพ (ที่เกี่ยวข้อง) แผนสวทช แผนการแพทย์และสาธารณสุขประเทศ ธุรกิจเอกชน แผน Capacity Building (ศูนย์แห่งชาติ) สปสช แผน S&T ของคลัสเตอร์ (สวทช) มหาวิทยาลัย หน่วยงานให้ทุนวิจัย แผนห้อง Lab in house (ศูนย์แห่งชาติ) แผนโปรแกรมวิจัย

8 การประเมิน ก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างดำเนินการ เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้น

9 แนวทางการบริหารการวิจัย - สวทช.
ปี 2549 สวทช. เริ่มประยุกต์แนวทางการบริหารจัดการแบบใหม่ ในลักษณะ Program base NSTDA Strategic Area Products Technology Patents Know-how Group B National Clusters Group C Essential Programs Group D Internal Management Group A Strategic Sub Clusters NSTDA Management Programs NSTDA Deliverability RDDE / TT / HRD / Infra / Internal Mgt. NSTDA RDE Operating Model TMC BIOTEC MTEC NECTEC NANOTEC Model TMC Model BIOTEC Model MTEC Model NECTEC Model NANOTEC

10 การประเมินก่อนเริ่มดำเนินการ:ถึงแม้จะมีทรัพยากรพอเพียง ความสำเร็จของการวิจัยขึ้นกับปัจจัยสามฐาน
Input Materials Money, HR Output Products Management Processes Infrastructure

11 การติดตามประเมินระหว่างดำเนินการ
นำผลสำเร็จไปใช้โดยเร็ว เพื่อตรวจหาปัญหาโดยเร็วและแก้ไข ยุติโครงการเมื่อจำเป็น

12 การติดตามและประเมินผลหลังสิ้นสุดโครงการ
ผลกระทบจากโครงการวิจัย ขยายผลโดยการนำเทคโนโลยี ไปใช้ใน อุตสาหกรรมแป้งฯ ผลลัพธ์จากโครงการวิจัย โรงงานแป้งมันฯ นำเทคโนโลยี ไปใช้ ก่อให้เกิดการลดน้ำเสีย และมีพลังงานกลับมาใช้ได้ ผลผลิตจากโครงการวิจัย ตัวอย่าง โครงการ พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย จากโรงงานผลิต แป้งมันสำปะหลัง ได้ “เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสีย”

13 ผลผลิตจากโครงการวิจัยเป็นสิ่งที่ตกลงกันในข้อเสนอโครงการวิจัย และเป็นสิ่งที่ประเมิน
องค์ความรู้ (KPI เช่น Publications) ผลิตภัณฑ์หรือเทคโนโลยีใหม่ (KPI เช่น สิทธิบัตร) กำลังคน (KPI เช่น นักศึกษาหรือพนักงานที่ร่วมในโครงการ) โครงสร้างพื้นฐาน (KPI เช่นการได้รับการรับรองมาตรฐาน)

14 ผลลัพธ์ของโครงการเป็นสิ่งที่นักวิจัยคาด แต่สัญญาไม่ได้เนื่องจากมีปัจจัยอื่นๆเกี่ยวข้องมาก มักจะเกิดขึ้นต่อเมื่อหน่วยงานลงมือจัดการ ธุรกิจ/รายได้ การให้บริการ การประชาสัมพันธ์หน่วยงาน

15 ผลกระทบของโครงการวิจัยเป็นสิ่งที่คาดเดาได้ยาก
มีข้อมูลต่อต้านการกีดกันทางการค้า เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากขึ้น ได้รับงบประมาณเพิ่ม

16 หลักเกณฑ์การสนับสนุน
โครงการอยู่ในขอบเขตการสนับสนุนของแต่ละศูนย์ฯ ต้องผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญและคณะกรรมการเทคนิคและกรรมการบริหาร หน่วยงานที่เสนอโครงการ ต้องมีโครงสร้างพื้นฐานเพียงพอรองรับการดำเนินการวิจัย และพัฒนา ระยะเวลาโครงการ โดยทั่วไป 1-3 ปี งบประมาณ - ดูตามเนื้องาน โครงการนี้เคยยื่นขอรับทุนจากหน่วยงานอื่น หรือไม่

17 ขั้นตอนการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย
รับข้อเสนอโครงการ เข้าข่าย BIOTEC ส่งผู้เชี่ยวชาญ ประเมิน ผ่าน ทำสัญญา คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ เฉพาะด้าน เริ่มโครงการ ขั้นตอนการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย ส่งให้กิจกรรมอื่น ที่เกี่ยวข้อง ไม่ ปฏิเสธ 1-2 สัปดาห์ 2-3 เดือน 2 1

18 ISO 9002 ระบบคุณภาพ Version 2000 1994 เริ่มใช้พ.ศ. 2538
ดำเนินการใน พ.ศ 2546 1994 เริ่มใช้พ.ศ. 2538

19 การติดตามประเมินผลโครงการวิจัย
รายงานความก้าวหน้า 1 เดือน 1 และ 3 พิจารณาเบื้องต้น ผ่าน ส่งผู้เชี่ยวชาญ 2 เดือน ประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน คณะอนุกรรมการ 2 เดือน เฉพาะด้าน คณะกรรมกา บริหาร ไม่ ผ่าน ยุติ อนุมัติ เงินปีที่ 2 (3)

20 เมื่อโครงการเสร็จสิ้น
ประเมิน การใช้ประโยชน์ 2 ปี เผยแพร่ FR TIAC เฉพาะของ BIOTEC ผลงานวิจัยเป็นกรรมสิทธิ์ของนักวิจัย การจัดสรรผลประโยชน์ทางทรัพย์สินทางปัญญา จะแบ่งเป็น นักวิจัย : หน่วยงานต้นสังกัด : สวทช. ครุภัณฑ์ในโครงการจะเป็นของผู้รับทุน (หน่วยงานรัฐ)

21 การพัฒนา ข้อเสนอโครงการ จัดประชุมโต๊ะกลม / จัดประชุมหารือ
ปัญหาที่พบ (BIOTEC) ข้อเสนอโครงการ เป้าหมาย – โจทย์วิจัย ไม่ชัดเจน แผนงาน – วิธีการ ไม่เหมาะสม การพัฒนา ข้อเสนอโครงการ จัดประชุมโต๊ะกลม / จัดประชุมหารือ

22 ปัญหาที่พบ (BIOTEC) การเสนอผลงานก่อนการยื่นจดทรัพย์สินทางปัญญา
การเขียนใบคำขอเพื่อยื่นจดทรัพย์สินทางปัญญา ความรู้เกี่ยวกับ ทรัพย์สินทางปัญญา การให้ความรู้เกี่ยวกับ ทรัพย์สินทางปัญญา นักกฎหมายด้านสิทธิบัตร

23 ระบบพี่เลี้ยง / เครือข่าย
ปัญหาที่พบ (BIOTEC) นักวิจัย เปลี่ยน Field ในการทำงานวิจัยบ่อย โดยไม่มีเหตุผล ไม่มีประสบการณ์ในงานวิจัยด้านนั้นๆ ความเชี่ยวชาญ /Career Path ระบบพี่เลี้ยง / เครือข่าย

24 ปัญหาที่พบ (BIOTEC) ไม่สนับสนุนการวิจัยเท่าที่ควร
ต้นสังกัด ไม่สนับสนุนการวิจัยเท่าที่ควร ระบบการบริหารงบประมาณไม่เอื้อ หารือกับต้นสังกัด

25 การพัฒนาฐานข้อมูลงานวิจัยรวมของประเทศ
ปัญหาการทำงานของ(BIOTEC) ข้อเสนอโครงการ การตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อเสนอโครงการ การพัฒนาฐานข้อมูลงานวิจัยรวมของประเทศ ?

26 คำถามที่พบบ่อย การส่งข้อเสนอโครงการวิจัยมีกำหนดเมื่อไร ?
วงเงินที่สามารถขอทุนการวิจัยได้? สวทช.สนับสนุนแต่โครงการที่นำไปสู่การพาณิชย์เท่านั้น และไม่สนับสนุนการวิจัยพื้นฐาน? ระยะเวลาในการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย? โครงการนี้ อยู่ในขอบเขตการสนับสนุนของสวทช.หรือไม่

27 บรรจุภัณฑ์และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
แปรรูป พันธุ์ ปลูก-เลี้ยง เก็บเกี่ยวและ บรรจุภัณฑ์ Upstream Downstream มาตรฐานผลิตภัณฑ์ คลัสเตอร์ อาหารและการเกษตร กุ้ง เมล็ดพันธุ์ พืชและสัตว์เศรษฐกิจ บรรจุภัณฑ์และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว นวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร

28 โปรแกรมวิจัยและพัฒนาคลัสเตอร์กุ้ง
เพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตกุ้งและผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออก ผลิตสินค้ากุ้งที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิตกุ้ง * พัฒนาพ่อแม่พันธุ์กุ้งจากการเลี้ยง * วิจัยและพัฒนาเพื่อป้องกันโรคกุ้ง * วิจัยและพัฒนาอาหารกุ้งสำหรับลูกกุ้งระยะต่าง ๆ * การปรับปรุงพันธุ์โดยการคัดเลือกสายพันธุ์กุ้ง * การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม * การจัดทำระบบ Traceability ตลอดห่วงโซ่มูลค่าเพิ่ม * การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และแปรรูป * การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่

29 โปรแกรมวิจัย “เมล็ดพันธุ์”
การพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ โดยเน้นพืชตระกูลแตงกวา พริก มะเขือเทศ ข้าวโพด และให้ภาคเอกชนสามารถนำไปต่อยอดเชิงพาณิชย์ต่อไป เทคโนโลยีการเคลือบเมล็ดพันธุ์ และสารเคลือบเมล็ดพันธุ์จากธรรมชาติ(จากพืชหรือจุลินทรีย์) เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยโรคพืชทางเมล็ดพันธุ์ ระบบโรงเรือนที่เหมาะสมกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ในประเทศไทย เครื่องจักรกลต้นแบบด้าน seed processing สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เพื่อช่วยลดต้นทุนให้แก่ภาคอุตสาหกรรม - หน่วยบริการตรวจวินิจฉัยโรคและหน่วย screening - หน่วยบริการด้านเครื่องมือและห้องปฏิบัติการ (BIOPARK) : อุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทย - หน่วยบริการเก็บรักษาเชื้อโรคพืช : อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย และกรมวิชาการเกษตร - หน่วยเก็บรักษาและบริหารจัดการเชื้อพันธุกรรมพืช รวมถึงฐานข้อมูล สร้างนักปรับปรุงพันธุ์พืชที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ

30 การพัฒนาเทคโนโลยี ชีวภาพเพื่อปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์
โปรแกรมวิจัยและพัฒนาพืชและสัตว์เศรษฐกิจ * พัฒนาสายพันธุ์ข้าวโดยเทคโนโลยีชีวภาพให้มีลักษณะดีต่างๆ * ทดสอบสายพันธุ์ข้าวร่วมกับกรมวิชาการเกษตร เกษตรกร * ศึกษาตำแหน่งยีนและหน้าที่ของยีนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะที่สำคัญและพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายให้ใกล้ตำแหน่งยีนที่ควบคุมลักษณะที่ต้านทานโรค แมลง สภาพแวดล้อม คุณภาพการหุงต้ม ปริมาณน้ำมัน เป็นต้น * แปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่จากข้าว การวิจัยข้าว * ประเมินเชื้อพันธุกรรม สร้างฐานข้อมูลเชื้อพันธุกรรม จัดกลุ่มพันธุ์อ้อยตามลักษณะที่สำคัญ รวมถึงการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมในระยะยาว * ทดสอบพันธุ์อ้อย เพื่อกำหนด zoning พันธุ์อ้อยที่เหมาะสมตามแหล่งปลูกทั่วประเทศ / GIS / รวมถึงการกระจายท่อนพันธุ์ดีสู่ระดับเกษตรกร * ปรับปรุงและคัดเลือกพันธุ์อ้อย โดยเทคโนโลยีชีวภาพให้มีลักษณะดีต่างๆ * พัฒนาเทคโนโลยีการตรวจโรคใบขาว การตรวจสอบคุณภาพน้ำอ้อย * การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตในโรงงาน การวิจัยอ้อย * ศึกษาองค์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกลไกการสร้างแป้ง (Starch biosynthesis & Biochemistry) * พัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายเพื่อช่วยในการปรับปรุงพันธุ์ * เทคโนโลยีการแปรรูป / modified starch เพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหาร (Food) และอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่มิใช่อาหาร (Non Food) การวิจัย มันสำปะหลัง การพัฒนาเทคโนโลยี ชีวภาพเพื่อปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ * เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์เพื่ออาหาร * เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพืชพลังงาน * ทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงไม้ดอกไม้ประดับ * เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพืชสำหรับสิ่งแวดล้อม * เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพืชวัสดุและเยื่อใย

31 โปรแกรมวิจัยนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร
ปลูกเลี้ยง วิจัยเพื่อพัฒนา สารทดแทน ในอาหารสัตว์ เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในการผลิตสัตว์ ศึกษา Risk Assessment โดยเน้นทางด้าน Microbial Chemical-MRLs และ Physicals พัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนการศึกษา Risk Assessment พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนระบบ GAP COC และ HACCP เก็บเกี่ยวและ บรรจุภัณฑ์ พัฒนาเทคนิค วิธีการตรวจสอบสารตกค้าง สารเคมีและสิ่งปนเปื้อน แปรรูป พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น เทคโนโลยีการฆ่าเชื้อ และเทคโนโลยีการชะลอการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ เป็นต้น ศึกษา Risk Assessment โดยเน้นทางด้าน Microbial Chemical-MRLs และ Physicals พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนระบบ GMP และ HACCP มาตรฐานและ ระบบคุณภาพ วิจัยมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์

32 พลังงานและสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีชีวมวล/พลังงานชีวภาพ
คลัสเตอร์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีชีวมวล/พลังงานชีวภาพ การจัดการและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ เทคโนโลยีเพื่อการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม พลังงานทางเลือก (Alternative Energy)

33 โปรแกรมวิจัย Biomass-Bioenergy (Biogas)
พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียชนิดไร้อากาศเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพไปสู่การใช้งานในอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร และฟาร์มปศุสัตว์ เพิ่มประสิทธิภาพระบบบำบัดน้ำเสียที่ผลิตก๊าซชีวภาพด้วย Hybrid reactor เพื่อการพัฒนากระบวนการผลิตแบบ Zero discharge ในโรงงานอุตสาหกรรม ผลักดันเชิงนโยบายเพื่อให้เกิดการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนจากระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังเพิ่มมากยิ่งขึ้น ของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์ น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม

34 ทรัพยากร โปรแกรมวิจัย “การจัดการและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ”
การประเมินมูลค่า เก็บรักษาพันธุกรรม ผลิตภัณฑ์ ใช้ประโยชน์สูงสุด

35 โปรแกรมวิจัย Platform Technology ของประเทศ
Genomics and Systems Biology สนับสนุนให้เกิดการสร้างความสามารถด้าน Genomics, Systems Biology และ Bioinformatics เพื่อเป็นฐานสำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพด้านต่างๆ ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับภูมิภาคและนานาชาติ * การหาลำดับเบสสิ่งมีชีวิต * Comparative Genomics * DNA Microarray * Proteomics * Interactomics * Metabolomics * Systems Biology * Bioinformatics * High performance computing      * Database

36 web site : www.biotec.or.th
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ฝ่ายสนับสนุนการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม 113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ. พหลโยธิน ต. คลองหนึ่ง อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี โทรศัพท์ ต่อ โทรสาร web site :

37 ขอบคุณครับ

38 มิติการติดตามและประเมินผล
หน่วยงาน (สวทช., ศูนย์แห่งชาติ, หน่วยเครือข่าย ฯลฯ) คลัสเตอร์ เรื่องที่ต้องประเมิน ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการ ผลกระทบ พันธกิจ โปรแกรม โครงการ

39 การติดตามประเมินผลหน่วยวิจัย สวทช.
คณะอนุกรรมการกำกับหน่วยฯ ปีละ ~ 3 ครั้ง เสนอแนะการดำเนินงานและ ติดตามผลการดำเนินงาน ของหน่วยฯ แผนและทิศทาง การดำเนินงาน 5 ปี หน่วยปฏิบัติการวิจัย คณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยฯ ประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อครบ 3 ปี

40 ตั้งแต่ระหว่างทางของการวิจัย  สิ้นสุดการวิจัย
สร้างผลงานวิจัย วิจัยเชิงวิชาการ > Excellence ความเข้มแข็งทางวิชาการ สร้างองค์ความรู้ใหม่ (ผลงานตีพิมพ์) นวัตกรรมใหม่ (สิทธิบัตร) วิจัยเชิงประยุกต์ > Relevance นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์โดยตรง บริหารจัดการให้เกิดการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ทั้งเชิงพาณิชย์/สาธารณประโยชน์ ตั้งแต่ระหว่างทางของการวิจัย  สิ้นสุดการวิจัย


ดาวน์โหลด ppt การสนับสนุนโครงการวิจัย ของ สวทช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google