งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สัมมนาเรื่อง “ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค” (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานหอการค้าและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สัมมนาเรื่อง “ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค” (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานหอการค้าและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สัมมนาเรื่อง “ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค” (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานหอการค้าและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ณ โรงแรม Swissotel Le Concorde 30 เมษายน 2556

2 ASEAN FTAs VS Dialogue Partners
ในกรอบอาเซียนและทวิภาคี JAPAN FTAs TH MAL PHI VIE IND BRU ASEAN 160414 ทูน่ากระป๋อง 0% 7.2 9.6 7.5 2

3 RCEP? 3

4 RCEP ในอนาคต? Tariff Harmonization RoO Standard NTMs/ NTBs 4

5 ร่างคำถาม ข้อที่ 1 ท่านเห็นว่าการจัดทำความตกลง RCEP จะช่วยเสริมให้ AEC
บรรลุเป้าหมายการเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม ได้มาก น้อยแค่ไหน ? 5

6 แนวคำตอบ ข้อที่ 1 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกันแปลง่ายๆ ว่าเหมือนเป็นหนึ่งประเทศเดียวกัน เป้าหมายของอาเซียนในวันนี้ยังเดินไปถึงอย่างสมบูรณ์ เช่น การค้าจะต้องไม่มีอุปสรรค ต้องมีความสะดวก (flow) ทางการค้ามากที่สุด มีอุปสรรคน้อยที่สุด 2. เป้าหมายการเปิดเสรีของอาเซียนปี 2558 ยังไม่สามารถบรรลุได้ เช่น ยังมี NTBs มีโควต้าสินค้า มาตรฐานยังไม่ใช่มาตรฐานเดียวกัน หรือมีมาตรฐานที่ปฏิบัติได้ใกล้เคียงกัน การเคลื่อนย้ายแรงงานก็ยังไม่มีความคืบหน้า 6

7 แนวคำตอบ ข้อที่ 1 (ต่อ) 3. เมื่อเป้าหมายของอาเซียนเองยังไม่สำเร็จในตัวเอง เมื่อบวกประเทศสมาชิกจาก 6 ประเทศการจะบรรลุเป้าหมายตลาดและฐานการผลิตร่วมโดยมี RCEP เป็นตัวกระตุ้นนั้นขึ้นอยู่กับว่า 3.1 ข้อตกลงที่ไทยมีภายใต้อาเซียนกับประเทศต่างๆ ในกรอบอาเซียน + 1 จำนวน 5 กรอบความตกลงการค้าเสรี อันได้แก่ 1. อาเซียน-จีน 2. อาเซียน-ญี่ปุ่น 3. อาเซียน-เกาหลี 4. อาเซียน-อินเดีย 5. อาเซียน-ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ 3.2 ข้อตกลงที่ไทยมีการเปิดเสรีการค้าระหว่างสองประเทศ อันได้แก่ JTEPA, ไทย-อินเดีย, ไทย-ออสเตรเลีย และไทย-นิวซีแลนด์ 6

8 แนวคำตอบ ข้อที่ 1 (ต่อ) 3.3 การรวมอาเซียนเป็นศูนย์กลางโดยมีอีก 6 ประเทศเข้ามาเชื่อมโยงอาเซียน จำเป็นต้องผนวกรวมข้อตกลงที่หลายหลากข้างต้นและทำให้กติกาทางการค้าเป็นกติกาเดียวกันให้ได้มากที่สุด (Harmonization) ภาษีเดียวกัน Rule of origin เดียวกัน มาตรฐานเดียวกันหรือใกล้คียงกันยกตัวอย่างการ กรณีผมผลิตอาหารสัตว์ที่ไทย หากสามารถนำเข้าวัตถุดิบจากทั่วโลกและผลิตเป็นอาหารสัตว์ และส่งออกไปได้ทั้งจีนหรือเกาหลีโดยไม่มีอุปสรรคทางการค้า ต้นทุนการค้าก็จะต่ำ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการค้า สรุป หาก RCEP สามารถเชื่อมโยง 16 ประเทศตามที่ว่าแล้ว ก็ยอมมีส่วนกระตุ้น AEC ให้บรรลุเป้าหมายการเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมได้ อย่างไรก็ตามการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายทั้ง RCEP หรือ AEC ควรดำเนินไปพร้อมๆ กัน 7

9 ร่างคำถาม ข้อที่ 2-3 2. ท่านเห็นว่า อาเซียนจะเพิ่มมูลค่า (value added) ให้กับความตก ลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership หรือ RCEP) ได้มากขึ้นกว่าการที่อาเซียน มีความตกลง ASEAN + 1 FTAs ได้อย่างไร ? ตรงจุดไหน ? 3. ท่านพบปัญหาอะไรหรือไม่? ในการใช้สิทธิประโยชน์ในความตก ลงแต่ละฉบับที่อาเซียนเป็นภาคีกับประเทศอื่นๆ อีก 6 ประเทศ (เช่น ปัญหาการได้ถิ่นกำเนิดสินค้า) และอยากเห็นอะไรในความ ตกลง RCEP ที่อาจช่วยแก้ไขปัญหาของท่านได้? 8

10 ไทยนำเข้าจากคู่เจรจา คู่เจรจานำเข้าจากไทย
(ตัวอย่าง) อัตราภาษี โทรทัศน์สีพิกัด ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 (ของไทยและคู่เจรจา) กรอบการเจรจา ไทยนำเข้าจากคู่เจรจา คู่เจรจานำเข้าจากไทย ASEAN 0.0% 0.0%, 5.0% (เวียดนาม) ASEAN – CHINA 20.0% ASEAN – SOUTH KOREA n.a. ASEAN – INDIA 5.0% 4.0% ASEAN – JAPAN ASEAN – CER

11 เกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดสินค้า
(ตัวอย่าง) เกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า โทรทัศน์สีพิกัด ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 กรอบการเจรจา เกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดสินค้า RVC Or/ And CTC ASEAN ≥ 40% or CTHS ASEAN – CHINA - ASEAN – SOUTH KOREA ASEAN – INDIA ≥ 35% and ASEAN – JAPAN ASEAN – CER CTH

12 ไทยนำเข้าจากคู่เจรจา คู่เจรจานำเข้าจากไทย
(ตัวอย่าง) อัตราภาษี อาหารสุนัขและอาหารแมว พิกัด ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 กรอบการเจรจา ไทยนำเข้าจากคู่เจรจา คู่เจรจานำเข้าจากไทย ASEAN 0.0% 0.0%, 5.0% (มาเลเซีย กัมพูชา เมียนมาร์) ASEAN – CHINA 9.1% ASEAN – SOUTH KOREA ASEAN – INDIA 9.0% 5.0% ASEAN – JAPAN 0.0%/เก็บตามสภาพ ASEAN – CER

13 เกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดสินค้า
(ตัวอย่าง) เกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า อาหารสุนัขและอาหารแมว พิกัด ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 กรอบการเจรจา เกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดสินค้า RVC Or/ And CTC ASEAN ≥ 40% or CTH ASEAN – CHINA - ASEAN – SOUTH KOREA ASEAN – INDIA ≥ 35% and CTHS ASEAN – JAPAN ASEAN – CER

14 ไทยนำเข้าจากคู่เจรจา คู่เจรจานำเข้าจากไทย
(ตัวอย่าง) อัตราภาษี ทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 กรอบการเจรจา ไทยนำเข้าจากคู่เจรจา คู่เจรจานำเข้าจากไทย ASEAN 0.0% ASEAN – CHINA ASEAN – SOUTH KOREA 20.0% ASEAN – INDIA 18.0% 30.0% ASEAN – JAPAN 11.3% 8.8% ASEAN – CER

15 เกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดสินค้า
(ตัวอย่าง) เกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า ทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด ในกรอบการค้าเสรีอาเซียน และอาเซียน+1 กรอบการเจรจา เกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดสินค้า RVC Or/ And CTC ASEAN ≥ 40% or CC ASEAN – CHINA - ASEAN – SOUTH KOREA CTH ASEAN – INDIA ≥ 35% and CTHS ASEAN – JAPAN CC except 03 ASEAN – CER

16 ประเด็น NTM/NTB

17 มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้า อาหารสุนัขและอาหารแมว พิกัด 2309
กรอบการเจรจา มาตรการทางการค้า ASEAN - MALAYSIA SPS (สุขอนามัย) ต้องแสดงรายละเอียดวัตถุดิบที่สำคัญ ส่วนประกอบ และข้อมูลทางโภชนาการอย่างชัดเจนที่ภาชนะบรรจุ - VIETNAM มีใบรับรองสุขอนามัยซึ่งปราศจากโรคหรือแหล่งของโรคปากเท้าเปื่อย TBT (มาตรการกีดกันทางอุปสรรคด้านเทคนิค) การติดฉลากสินค้าทุกชนิดที่ผลิตในประเทศ นำเข้าหรือส่งออก ต้องติดฉลากที่ประกอบด้วยชื่อที่อยู่ผู้ผลิต ส่วนประกอบ ปริมาณ ข้อมูลด้านเทคนิค และคำเตือนด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยของสินค้าชนิดนั้น JAPAN ผู้นำเข้าต้องยื่นเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ ที่อยู่ ที่ตั้งของผู้ผลิตต่อกระทรวงเกษตรฯและกระทรวงสิ่งแวดล้อม ฉลากต้องระบุประเทศผู้ผลิต วัตถุดิบ ผู้จำหน่ายในญี่ปุ่น วันหมดอายุ ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ

18 มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604
กรอบการเจรจา มาตรการทางการค้า ASEAN - SINGAPORE การขออนุญาตนำเข้า ผู้นำเข้าต้องขออนุญาตนำเข้าและขนถ่ายสินค้าจาก Agri-Food Veterinary Authority (AVA) การนำเข้าทุกครั้งต้องมี Health Certificate จากหน่วยงานตัวแทนของประเทศผู้ส่งออกโดยรับรองว่าเป็นไปตาม animal health and food safety ของสิงคโปร์ กล่องบรรจุผลิตภัณฑ์ต้องมีฉลากแสดงคำจำกัดความของสินค้า ประเทศผู้ผลิต brand name ชื่อและกรรมวิธีการผลิต ถ้าใส่กระป๋องต้องระบุวันที่บรรจุทั้งกระป๋องและกล่องบรรจุ การนำเข้าต้องได้รับการเฝ้าระวังจาก AVA ก่อนได้รับอนุญาตให้ขายซึ่งอาจจำเป็นต้องสุ่มตัวอย่างเพื่อการทดสอบทาง Lab ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ

19 มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604
(ต่อ) กรอบการเจรจา มาตรการทางการค้า ASEAN - SINGAPORE TBT (มาตรการกีดกันทางอุปสรรคด้านเทคนิค) ต้องติดฉลากเป็นภาษาอังกฤษ ขนาดตัวอักษรสูงไม่น้อยกว่า 3 mm. มีรายละเอียดเช่น ชื่ออาหาร ปริมาณและน้ำหนักสุทธิ ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้บรรจุ และผู้จัดจำหน่าย ประเทศผู้ผลิต ส่วนประกอบพร้อมสัดส่วน วันผลิต/วันหมดอายุ Bar Code ปริมาณแร่ธาตุและอาจจะแสดงเครื่องหมาย Halal แสดงรายชื่อส่วนผสมที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ในผู้บริโภคบางราย เช่น ธัญพืช พืชตระกูลถั่ว ปลา นม เป็นต้น ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ

20 มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604
(ต่อ) กรอบการเจรจา มาตรการทางการค้า ASEAN VIETMAN SPS (สุขอนามัย) มีใบรับรองสุขอนามัยซึ่งปราศจากโรคหรือแหล่งของโรคปากเท้าเปื่อย สถานประกอบการต้องได้รับการรับรองจากหน่วยงานรับผิดชอบของเวียดนาม เช่น มีระบบการจัดการคุณภาพ HACCP สินค้าแต่ละ consignment ต้องมีใบรับรองสุขอนามัย และต้องผ่านการตรวจสอบที่ด่านนำเข้าหรือคลังสินค้าและได้รับการรับรองสุขอนามัยตามมาตรฐานของเวียดนามก่อนจึงจะจำหน่ายหรือนำไปผลิตต่อได้ การตรวจสอบสารเคมีตกค้างและเชื้อจุลินทรีย์ รายการเกณฑ์ความปลอดภัยของอาหารและปริมาณสูงสุดของสารเคมีตกค้างและเชื้อจุลินทรีย์ที่เวียดนามอนุญาตมาตรการการขออนุญาตนำเข้า ต้องจดทะเบียนเป็นผู้นำเข้าโดยใช้มาตรฐานระหว่างประเทศและมาตรฐาน CODEX, OIE และ ASEAN เป็นมาตรฐานกลางสำหรับสุขอนามัย ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ

21 มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604
กรอบการเจรจา มาตรการทางการค้า ASEAN - VIETMAN TBT (มาตรการกีดกันทางอุปสรรคด้านเทคนิค) การติดฉลากสินค้าทุกชนิดที่ผลิตในประเทศ นำเข้าหรือส่งออก ต้องติดลากที่ประกอบด้วยชื่อที่อยู่ผู้ผลิต ส่วนประกอบ ปริมาณ ข้อมูลด้านเทคนิค และคำเตือนด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยของสินค้าชนิดนั้น - MALAYSIA SPS (สุขอนามัย) ผู้นำเข้าและตัวแทนผู้นำเข้าสินค้าอาหารต้องแสดงรายละเอียดวัตถุดิบ ส่วนประกอบ ข้อมูลทางโภชนาการที่ภาชนะบรรจุ ต้องได้รับอนุญาตให้นำเข้าจากรัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีใบรับรองสุขอนามัยจากกรมประมงจากไทย อิงมาตรฐานนำเข้าของสหภาพยุโรป ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ

22 มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าทูน่าแปรรูป ทูน่ากระป๋อง พิกัด 1604
กรอบการเจรจา มาตรการทางการค้า CHINA ภาพรวม กฎหมายหรือกฎระเบียบมีเนื้อหาที่เป็นทฤษฏีเขียนไว้สั้นๆ ใช้คำที่มีความหมายกว้างๆ ทำให้ใช้ดุลพินิจในการบังคับใช้ในระดับท้องถิ่น รัฐบาลจีนออกกฎหมาย Food Safety Law ในปี 2552 เพื่อกำกับดูแลการออกใบอนุญาต การจดทะเบียน การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้า มีกฎระเบียบเกี่ยวกับฉลากของสินค้านำเข้า ผู้ประกอบการต้องยื่นเอกสารไปยังสำนักงานควบคุมการนำเข้าและส่งออกของจีนในแต่ละมณฑลหรือยื่นตรงต่อสำนักงานใหญ่ที่ปักกิ่งใช้เวลาเฉลี่ย 3-6เดือน INDIA มีมาตรการด้านสุขอนามัย / มีมาตรการด้านฉลากอาหาร / มีมาตรฐานการบรรจุหีบห่อ ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ

23 มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าโทรทัศน์สีพิกัด 8528
กรอบการเจรจา มาตรการทางการค้า ASEAN - MALAYSIA การขอใบอนุญาตนำเข้า ต้องได้รับ Certificate of Approval ผู้นำเข้าต้องเป็นบริษัทมาเลเซียที่จดทะเบียนไว้กับ the Companies Commission of Malaysia - VIETNAM การประเมินภาษีศุลกากร เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านอยู่ในกลุ่มสินค้า 21 ประเภทที่จะประเมินราคาสินค้าโดยใช้ราคากลาง โดยกำหนดราคาขั้นต่ำแต่บางครั้งสูงกว่าราคาตลาด - SINGAPORE ฉลากสิ่งแวดล้อมสิงคโปร์ ผู้ขอรับรองฉลากจะต้องทราบว่าสินค้าของตนอยู่ภายใต้ประเภทและคุณสมบัติตรงตามกำหนดของ Singapore Green Label Scheme ต้องส่งตัวอย่างสินค้าไปยังห้องทดลองที่ได้รับกานแต่งตั้งโดยสิงคโปร์ เมื่อผ่านการทดสอบสินค้าแล้ว สามารถขอรับรองฉลากโดยกรอบใบสมัครทางอินเตอร์เน็ตพร้อมแนบข้อมูล เช่น ข้อมูลบริษัท วัตถุดิบในการผลิต กระบวนการผลิต หรือเอกสารอื่นๆ ที่จะถูกเรียกตรวจสอบ ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ

24 มาตรการทางการค้า (NTMs) สินค้าโทรทัศน์สีพิกัด 8528
กรอบการเจรจา มาตรการทางการค้า ASEAN - THAILAND มาตรฐานบังคับมอก เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์เกี่ยวข้องที่ใช้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน สำหรับใช้ในที่อยู่อาศัย และงานทั่วไปที่มีลักษณะคล้ายกัน เฉพาะด้านความปลอดภัย ซึ่งมีกำหนดมาตรฐานสินค้า ส่วนประกอบ เครื่องหมาย ฉลาก การทดสอบ ความปลอดภัย ฯลฯ ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศและกรมการค้าต่างประเทศ

25 มาตรฐานและการรับรองกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม
ประเด็น ASEAN ASEAN-CHINA ASEAN-JAPAN ความตกลงยอมรับร่วม ผล การตรวจสอบและรับรอง (MRAs) ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบ โรงงานยา  ไม่มีความ คืบหน้า การปรับมาตรฐานสินค้าให้ สอดคล้องกับ มาตรฐานสากล (harmonization of standards and technical regulations)  ไฟฟ้าและ กระบวนการ จดแจ้ง เครื่องสำอาง (Technical regulation) การใช้มาตรฐานบังคับ ตามกฎหมายของตนเอง ไทยมีมาตรฐานบังคับสินค้า95 รายการ เช่น กลุ่มสินค้า ชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เหล็ก สารเคมี ฯลฯ มาเลเซียมีมาตรฐานบังคับ 315 รายการ เช่นกลุ่มสินค้า เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ก่อสร้าง เคมี เครื่องมือแพทย์ ฯลฯ จีนใช้มาตรฐาน CCC ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมหลายร้อยรายการ ญี่ปุ่นใช้มาตรฐาน Japan Industrial Standard 25

26 มาตรฐานและการรับรอง กลุ่มสินค้าอาหารแปรรูป
ประเด็น ASEAN ASEAN-CHINA ASEAN-KOREA ASEAN-JAPAN ความตกลงยอมรับ ร่วม ผลการ ตรวจสอบและ รับรอง (MRAs)  อยู่ระหว่าง ดำเนินการ  ไม่มีความ คืบหน้า (มีความร่วมมือ ไทย – เกาหลี เรื่องมาตรฐานการ ปล่อยสินค้าประมง เบื้องต้น) การปรับมาตรฐาน สินค้าให้สอดคล้อง กับมาตรฐานสากล (harmonization of standards and technical regulations) อยู่ระหว่าง  ไม่มีความ (มีเพียงความร่วมมือ Food Security ในกรอบ JTEPA) การใช้มาตรฐาน บังคับตามกฎหมาย ของตนเอง ทั้งจีน ญี่ปุ่น เกาหลี หรือไทย จะเน้นส่งเจ้าหน้าที่มาตรวจโรงงานให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของประเทศผู้ผลิตก่อนจะอนุญาตให้ส่งออกได้ 26

27 การอำนวยความสะดวกทางการค้าร่วมกัน
1. การ Harmonization พิกัดศุลกากร 2.การปรับประสานพิธีการทางศุลกากร ให้เป็นระบบบสากล 3. การใช้เชื่อมโยงข้อมูลการส่งออกหรือการนำเข้าระหว่างประเทศด้วยระบบอิเล็คทรอนิกส์ 4. การเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ภายใน RCEP

28 ร่างคำถาม ข้อที่ 4.1 4.1 ท่านคิดว่า การเจรจา RCEP จะช่วยให้สาขาเกษตรหรือ อุตสาหกรรมเกษตรของไทยมีอัตราการส่งออกเพิ่มขึ้นหรือ ไม่ ? Sector ใดเป็น sector สำคัญที่ไทยน่าจะมีโอกาสมาก? ประเทศใดถือเป็นประเทศเป้าหมายของไทย ที่ยังไม่ลดหรือ ยกเลิกภาษีศุลกากรให้แก่ไทยภายใต้ความตกลง ASEAN + 1 FTAs และประเทศที่ไทยยังไม่มีความตกลงทวิภาคีด้วย? รวมทั้ง หากประเทศคู่เจรจาเคยมีความตกลงทวิภาคีหรือเป็น ASEAN Dialogue partners ของไทยแล้ว มีสินค้าใดที่ท่าน คาดหวังว่า จะมีการลดภาษีเพิ่มเติมให้แก่ไทย?

29 การลดภาษีกรอบไทย-ญี่ปุ่น การลดภาษีอาเซียน-ญี่ปุ่น
สินค้าที่ไทยมีศักยภาพ แต่ยังเปิดตลาดได้ไม่เต็มที่ใน FTAอาเซียนกับคู่เจรจา Bi-lateral ,ASEAN+1 พิกัด/รายการสินค้า ข้อเรียกร้อง เอกชนเริ่มแรก การลดภาษีกรอบไทย-ญี่ปุ่น การลดภาษีอาเซียน-ญี่ปุ่น RCEP..? สตาร์ชทำจากมันสำปะหลัง ขอให้ญี่ปุ่นลดภาษีเป็นศูนย์ทันที เจรจาใหม่ในปีที่ 5 ไม่นำมาลดภาษี ภาษีดีกว่าอย่างไร..?? (Forward or Back Track) และ น้ำตาลดิบ ลดภาษี 0% ทันที และ เนื้อสุกรแปรรูป ขยายโควตา จาก 1,200 ตัน เป็น 12,000 ตัน หมึกแปรรูป ลดภาษีเป็น 0%ใน 3 ปี และยกเลิกโควตานำเข้า หากยกเลิกไม่ได้ ขอให้มีการเพิ่มสัดส่วนสำหรับผู้นำเข้าอิสระ Exclusion ทยอยลดภาษีจาก 5.5% จนเหลือ 0% ใน 10 ปี (ปี 2018)

30 การลดภาษีกรอบไทย-ญี่ปุ่น การลดภาษีอาเซียน-ญี่ปุ่น
สินค้าที่ไทยมีศักยภาพ แต่ยังเปิดตลาดได้ไม่เต็มที่ใน FTAอาเซียนกับคู่เจรจา Bi-lateral ,ASEAN+1 พิกัด/รายการสินค้า ข้อเรียกร้อง เอกชนเริ่มแรก การลดภาษีกรอบไทย-ญี่ปุ่น การลดภาษีอาเซียน-ญี่ปุ่น RCEP? มันสำปะหลังอื่นๆ ขอให้ญี่ปุ่นลดภาษีเป็นศูนย์ทันที ไม่นำมาลดภาษี Exclusion ทยอยลดภาษีเหลือ 0% ในปีที่ 10 (2018) ภาษีดีกว่าอย่างไร..?? (Forward or Back Track) อาหารสำเร็จรูปที่มีข้าวเป็นส่วนผสม ลดภาษี 0%

31 ร่างคำถาม ข้อที่ 4.2 4.2 ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร หากการเจรจาภายใต้
กรอบ RCEP จะมีการใช้หลักการสะสมถิ่นกำเนิดแบบ full cumulation? จะส่งผลกระทบ (ทั้งในเชิงบวก และลบ) อย่างไรกับอุตสาหกรรมของท่าน? และจะ ส่งผลโครงสร้างการผลิตและการค้าในไทยอย่างไร? และผลกระทบที่จะเกิดต่อผู้ผลิตรายย่อยในประเทศใน สาขาของท่านอย่างไร?

32 ประโยชน์ของการใช้หลักการสะสมถิ่นกำเนิดแบบ full cumulation ภายใต้ RCEP

33 ประโยชน์ของการใช้หลักการสะสมถิ่นกำเนิดแบบ full cumulation ภายใต้ RCEP
ว่ามีปริมาณเพียงพอ? คุณภาพได้มาตรฐาน? และที่สำคัญต้นทุนต่ำ? สำหรับประเทศไทยในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรและ อาหารที่มีการใช้วัตถุดิบนอกประเทศเป็นหลักเช่นปลาทะเล น้ำลึก ถั่วเหลือง ข้าวสาลี ข้าวบาร์เล่ย์ ซึ่งจะได้ประโยชน์ หากใช้การสะสมแบบ full cumulation จะทำให้สินค้าสำเร็จ รูปที่ผลิตจากการใช้วัตถุดิบนอกภาคีสามารถนำมูลค่าเพิ่มจากกระบวนการผลิตมาสะสมถิ่นกำเนิดสินค้าได้

34 ประโยชน์ของการใช้หลักการสะสมถิ่นกำเนิดแบบ full cumulation ภายใต้ RCEP
สรุป ในหลักการ Full cumulation น่าจะเป็นประโยชน์ แต่อาจมีสินค้าวัตถุดิบ/กึ่งวัตถุดิบที่ ไม่สามารถปรับตัวด้านการผลิต คุณภาพมาตรฐานและราคา อาจได้รับผลกระทบ ดังนั้นจึงควรศึกษาลงเป็นรายสินค้าเพื่อการใช้ประโยชน์ Full cumulation ให้ดีที่สุด

35 ประโยชน์จากการแสวงหาวัตถุดิบของสินค้าสำเร็จรูป ภายใต้ RCEP
Input Raw Material from RCEP Members Processing Products in Thailand Export to RCEP Members สมมุติเกณฑ์ ROO บิสกิตโกโก้ คือ RVC 40% RCEP Members การคำนวนเกณฑ์ RVC 40% In Force 1. ASEAN – China 2. ASEAN – Korea 3. ASEAN – Japan 4. ASEAN – India 5. ASEAN – Australia 6. ASEAN – New Zealand New Initiatives 1. ASEAN - GCC ต้นทุนข้าวแป้งสาลี (ราคาต่อหน่วย : USD) นำเข้าข้าวสาลีจากสหรัฐ = 1 มูลค่าการผลิตในเวียดนาม = + 1 รวม = 2 มูลค่าการผลิตในไทย = 2 มูลค่าการผลิตในเวียดนาม = +1 มูลค่าการผลิตในอินโดฯ = +1 รวม = USD 4 การคำนวน RVC 40% ทางตรง 10 (ราคาขายที่ FOB) x 100% = 40% ได้เกณฑ์ ROO RCEP ต้นทุนผงโกโก้ (ราคาต่อหน่วย : USD) นำเข้าเมล็ดโกโก้จากไนจีเรีย = 1 มูลค่าการผลิตในอินโดเนียเซีย = +1 รวม = 2

36 ผลกระทบต่อวัตถุดิบพื้นฐานหรือวัตถุดิบกึ่งสำเร็จรูปที่ผลิตในประเทศไทยภายใต้ RCEP
ตรวจสอบกฎถิ่นกำเนิดสินค้ามีความยากง่ายต่างกันระหว่างประเทศ สมาชิก RCEP ข้อเสนอแนะ ผู้ผลิตสินค้าพื้นฐานหรือกึ่งสำเร็จรูปต้องเร่งปรับตัวผลิตสินค้าราคาถูกและมีคุณภาพมาตรฐานสากล ต้องเร่งสร้างมาตรฐานบังคับในสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเพื่อเร่งพัฒนาความสามารถในการแข่งขันและเป็นมาตรการปกป้องสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานที่จะนำเข้ามาในประเทศไทย

37 ร่างคำถาม ข้อที่ 4.3 4.3 ท่านคิดว่าจะมีความเป็นไปได้หรือไม่ที่หลักการ full cumulation จะเป็นตัวกระตุ้นให้อุตสาหกรรมในไทย (ซึ่งเป็นถือหุ้นโดยนักลงทุน ต่างชาติและนักลงทุนไทย) เกิดการเคลื่อนย้ายการลงทุนไปยังประเทศ อาเซียนใหม่? เช่น เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม โดยเฉพาะ กลุ่มอุตสาหกรรมที่ไม่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงและแรงงานที่มีทักษะมากนัก และหลังจากนั้นเมื่อแรงงานในประเทศนั้นมีทักษะมากขึ้นจะส่งผลให้ กลุ่มอุตสาหกรรมต่อเนื่องย้ายฐานการผลิตตามไปด้วยในอนาคต ใน ประเด็นนี้ นักลงทุนไทยหรือผู้ประกอบการไทยจะมีศักยภาพเพียงพอ ที่จะออกไปลงทุนในประเทศภาคี 15 ประเทศมากน้อยแค่ไหน? ตอบ เห็นว่าไม่มีผลต่อการที่นักลงทุนจะเคลื่อนย้ายการลงทุนไปประเทศอื่น เนื่องจากมีปัจจัยอื่นๆ เช่น ค่าแรงและทักษะของแรงงานในท้องถิ่นมากกว่า จึงเห็นว่าหลักการ Full cumulation ไม่น่าจะเป็นตัวกระตุ้นให้มีการเคลื่อนย้ายนักลงทุนออกไปอาเซียนใหม่

38 ร่างคำถาม ข้อที่ 4.4 4.4 ท่านเห็นว่ามาตรการที่มิใช่ภาษีของประเทศใดที่ยังเป็นอุปสรรค ต่อการค้า ในการเจรจาในกรอบ RCEP? และมาตรการที่มิใช่ภาษีใน มาตรการใดที่ควรหยิบยกมาเจรจาเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าที่จะ เกิดขึ้น เพื่อให้ RCEP มี value added มากขึ้น? ตอบ 1. มาตรการที่มีผลกระทบมากที่สุด คือมาตรการห้ามนำเข้า เช่น อินโดเนียเซียเคยกำหนดท่าเรือที่จะให้นำเข้าได้ ทำให้เป็นอุปสรรคทางการค้า สินค้าเหมือนถูกห้ามนำเข้าทันที 2. RCEP ควรจัดตั้งคณะทำงานด้าน NTBs เพื่อร่วมแก้ปัญหา อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงการตั้งเป้าหมายในการลด/ยกเลิก NTBs

39 ร่างคำถาม ข้อที่ 4.5 4.5 ในสาขาเกษตรหรืออุตสาหกรรมเกษตร และสาขายานยนต์/ ชิ้นส่วนยานยนต์ของไทย ภาคการผลิตดังกล่าวควรจะมี มาตรการปรับตัวหรือเตรียมความพร้อมอย่างไรจากผลของ ความตกลง RCEP? หรือมีข้อเสนอแนะแก่ภาครัฐให้ช่วยเหลือ ภาคเอกชนเตรียมพร้อมรองรับปรับตัวอย่างไร? ตอบ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. ฝึกฝนทักษะด้านภาษาในอาเซียน/คู่เจรจา 3. นำเทคโนโลยีใหม่/ผลการศึกษาวิจัยมาปรับปรุงใช้ 4. พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในการผลิตสินค้า/ให้บริการ 5. พัฒนาการบริการ ให้ได้มาตรฐานสากล 6. ให้บริการอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม

40 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt สัมมนาเรื่อง “ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค” (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานหอการค้าและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google