งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ภาพรวมของ 2 ปีที่ผ่านมา)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ภาพรวมของ 2 ปีที่ผ่านมา)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ภาพรวมของ 2 ปีที่ผ่านมา)
Antibiotics Smart Use Program (An overview of 2-year experiences: Past Present and Future) ภญ.ดร.นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา / 6 มกราคม 2553

2 Talk outline ความเป็นมา หลักการและแนวคิดของโครงการ
กรอบแนวคิด (Conceptual framework) การดำเนินการ (Implementation) ผลการดำเนินการ (Results) สรุป (Conclusion) ยุทธศาสตร์ และทิศทางของโครงการ ASU เรื่องราวแห่งความสำเร็จ (Successful stories)

3 1. ความเป็นมาของโครงการ

4 จุดเริ่มต้นของแนวคิดของโครงการ Antibiotics Smart Use
ต้องการเปลี่ยนวิธีการทำงานเรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของหน่วยงานส่วนกลาง เพราะ การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาด้านพฤติกรรมที่มีผลมาจากระบบสุขภาพและการศึกษาของประเทศ การมุ่งแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรมโดยปรับเปลี่ยนระบบหรือนโยบายสั่งการเพียงอย่างเดียวยากที่จะสำเร็จ เนื่องจากระบบมีความซับซ้อน และแรงต้านนั้นมากมาย การแก้ไขปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องเกิดในระดับบุคคลก่อน และมีการพัฒนาแนวร่วมที่เข้มแข็ง แล้วจึงมีชุดประสบการณ์ที่สั่งสมร่วมกันระหว่างส่วนกลางและพื้นที่ การแก้ปัญหาการใช้ยาดังกล่าวจึงจะมีโอกาสเป็นไปได้จริง เปลี่ยนแนวคิดการทำงาน จากเดิม “คิดใหญ่-ทำใหญ่-เคลื่อนงานในระดับบน” แต่ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือเชื่อมโยงถึงประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม มาเป็น “คิดใหญ่-ทำเล็ก-เคลื่อนงานในระดับพื้นที่-วัดผลได้” แล้วจึงค่อยขยายผลต่อจิ๊กซอว์เป็นภาพใหญ่ ที่เชื่อมต่อเข้ากับนโยบายของประเทศด้วยจังหวะก้าวที่เหมาะสมต่อไป (Routine to Research to Policy: R2R2P) (ป่าล้อมเมือง) เพราะ การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาด้านพฤติกรรมที่มีผลมาจากระบบสุขภาพและการศึกษาของประเทศ การมุ่งแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรมโดยปรับเปลี่ยนระบบหรือนโยบายสั่งการเพียงอย่างเดียวยากที่จะสำเร็จ เนื่องจากระบบมีความซับซ้อน และแรงต้านนั้นมากมาย การแก้ไขปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องมีการพัฒนาแนวร่วมที่เข้มแข็ง และมีชุดประสบการณ์ที่สั่งสมร่วมกันระหว่างส่วนกลางและพื้นที่ การแก้ปัญหาการใช้ยาดังกล่าวจึงจะมีโอกาสเป็นไปได้จริง

5 ASU Collaboration Network
(As of Jan 2010)

6 พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะ
คนไทยใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ ต่างจังหวัดกินยาปฏิชีวนะรักษาหวัดคิดเป็นร้อยละ และสูงถึงร้อยละ ใน กทม.1 โรงเรียนแพทย์พบการใช้ยาปฏิชีวนะไม่สมเหตุผลสูงถึง 30-90%2-4 Ref: ชี้คนไทยกินยาแก้อักเสบรักษาโรคไข้หวัดสูง. หนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 6 พฤษภาคม 2547 หน้า 32. Apisarnthanarak A, Danchaivijitr S, Khawcharoenporn T, et al. Effectiveness of education and an antibiotic-control program in a tertiary care hospital in Thailand. Clin Infect Dis 2006;42: Aswapokee N, Vaithayapichet S, Heller R. Pattern of antibiotic use in medical wards of a university hospital, Bangkok, Thailand. Rev Infect Dis 1990;12: Udomthavornsak B, Tatsanavivat P, Patjanasoontorn B, et al. Intervention of inappropriate antibiotic use at a university teaching hospital. J Med Assoc Thai 1991;74(10):

7 มูลค่าการผลิต/นำเข้า และ ADR report ของยาปฏิชีวนะ
มูลค่าการผลิตและนำเข้าของยาฆ่าเชื้อ (ยาปฏิชีวนะ) สูงเป็นอันดับ 1 ติดต่อตั้งแต่ปี 2543 ปี 2550 มีมูลค่าประมาณ 20,000 ล้านบาท หรือร้อยละ 20 ของมูลค่ายาทั้งหมด1 รายงาน ADR ของยาปฏิชีวนะก็สูงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ ปี 2549 ADR ของยาปฏิชีวนะคิดเป็นร้อยละ 54 ของ ADR จากยาทุกชนิดรวมกัน2 Ref: กองควบคุมยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. มูลค่าการผลิตและนำเข้ายาประจำปี ที่จัดแยกตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา. ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ. สรุปรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีพ.ศ กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ กองแผนงานและวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2549.

8 อัตราเชื้อดื้อยาสูงขึ้น ... จำนวนยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ในท้องตลาดลดลง
อัตราเชื้อดื้อยาสูงขึ้น ... จำนวนยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ในท้องตลาดลดลง Figure. Increased drug resistance among pathogens versus reduced development of new drugs. A) Growing proportions of selected pathogens resistant against the antibiotic drug ciprofloxacin. Similar increase in resistance was measured for most commonly used antibiotics. B) The number of new antimicrobial drugs approved by the FDA between the years Source:

9 ใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ = ทำร้ายตนเอง ครอบครัว และสังคม
ใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ = ทำร้ายตนเอง ครอบครัว และสังคม เชื้อดื้อยาติดต่อได้ผ่านทาง ไอ จาม กิน สัมผัส ผู้มีความเสี่ยงจากการติดเชื้อดื้อยา เด็ก คนแก่ คนที่เป็นเบาหวาน คนที่มีภูมิต้านทานของร่างกายต่ำ คนที่สุขภาพดีก็อาจเป็นเหยื่อของเชื้อดื้อยาได้

10 R. I. P Mariana Bridi da Costa (24. 01
R.I.P Mariana Bridi da Costa ( ) From UTI - Sepsis – Death (caused by Pseudomonas aeruginosa)

11 2. หลักการ และแนวคิดของ ASU

12 1 ผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด
ASU ปี 2 ASU ปี 1 2 ผลจากการถอดบทเรียน (เพื่อปรับปรุงขยายงาน) 1 ผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด (เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์)

13 Concept ของ ASU เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ไม่ใช่การให้ความรู้)
การอบรมเสมือนเป็น kick-off การทำงานหลังจากนั้นเสมือนการเลี้ยงลูกไปยิงประตู ลดการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรค โรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนบน (เช่น หวัดเจ็บคอ) โรคท้องร่วงเฉียบพลัน แผลเลือดออก ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ ถ้าไม่จำเป็น (หากจำเป็น ให้ใช้ยาอย่างเหมาะสมตามขั้นตอน) ยึดความปลอดภัยของคนไข้เป็นที่ตั้ง ASU เหมาะกับผู้ป่วยนอกที่มีสุขภาพโดยรวมแข็งแรงดี อายุ 2 ปีขึ้นไป ไม่รวมผู้ป่วยใน ผู้ป่วยอาการหนัก เป็นโรคเบาหวาน มีภูมิต้านทานต่ำ

14 ภาพรวมโครงการ ASU ASU Milestones
ASU I: ทำอย่างไรจึงเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ก.ย อย.ขอทุนจาก WHO ทำต้นแบบ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ส.ค เริ่มโครงการนำร่อง ASU ที่สระบุรี ส.ค สรุปผลโครงการนำร่อง ก.ค สรุปผลความยั่งยืนโครงการนำร่อง ASU II: การขยายผลควรทำอย่างไร ก.ย สวรส. สนับสนุนทุน ศึกษารูปแบบการขยาย ASU สู่ความยั่งยืนมี จังหวัดอุบลราชธานี อยุธยา สมุทรสงคราม รพ.กันตัง (จ.ตรัง) กลุ่ม รพ. ศรีวิชัย เข้าร่วม ก.ย สรุปผลโครงการ มี.ค สปสช. ประกาศ กิจกรรม ASU เป็นเกณฑ์ ตัวชี้วัด ทำให้ สถานพยาบาล หลายแห่งได้ เริ่มทำโครงการ ด้วยตนเอง ก.ย.-ธ.ค สปสช. สนับสนุนทุนในการพัฒนาเครือข่าย ASU เพื่อรองรับการทำงานของพื้นที่ และการขยาย โครงการสู่ปีที่ 3 ASU III: สู่งานประจำ และบรรทัดฐานสังคม

15 ทีมงาน และภาคีเครือข่าย
พื้นที่เจ้าของโครงการ จังหวัด สถานพยาบาล และหน่วยงานที่ดำเนินโครงการ ส่วนกลาง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แผนงานกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย องค์การอนามัยโลก เครือข่าย ReAct ...... ..... ฝ่ายประเมินผล ฝ่ายอำนวยการ ฝ่ายสื่อสารสาธารณะ ฝ่ายการแพทย์

16 “KNOW-HOW” transfer การพัฒนาทีมและภาคีเครือข่าย
ทฤษฎีและการสร้างกรอบแนวคิด (Conceptualization) วิธีการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การวางแผน และบริหารโครงการ ฝ่ายประเมินผล ฝ่ายอำนวยการ ฝ่ายสื่อสารสาธารณะ ฝ่ายการแพทย์ - แนวทางการรักษาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล - การถ่ายทอดและการเป็นวิทยากร การวิจัย (R2R) ระเบียบการวิจัย การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล การถอดบทเรียน ... การพัฒนาและออกแบบสื่อ และการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ

17 ชื่อโครงการ Sense of ownership ส่วนกลาง
Antibiotics Smart Use Program (ASU) โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล พื้นที่เจ้าของโครงการ หรือเครือข่ายสามารถตั้งชื่อภาษาไทยของโครงการ ASU ได้ตามต้องการ เช่น หายได้...ไม่ต้องพึ่งยาปฏิชีวนะ ฉลาดใช้ยาปฏิชีวนะ ชุมชนปลอดภัย....ใช้ยาเท่าที่จำเป็น ใช้ยาปฏิชีวนะสมเหตุผล ฯลฯ

18 กรอบแนวคิดของโครงการ
3. Conceptual framework

19 Antibiotics Smart Use Not a “one size fits all” model
Goal-oriented program targeting behavioral change A conceptual framework to guide directions “…ถ้าต้องไปออกหน่วยแพทย์บนดอยสูง มีเงินให้แค่พอเติมน้ำมัน 1 ถังระหว่างทาง ขับรถหลงหรือออกนอกเส้นทางมากไม่ได้เพราะน้ำมันอาจไม่พอ ไปช้าไม่ได้เพราะคนไข้บางคนอาจเป็นอันตราย เลือกประเภทรถผิดไม่ได้เพราะคงไปไม่ถึง ยาและอุปกรณ์ที่เอาไปต้องเพียงพอและเก็บรักษาอย่างเหมาะสมไม่งั้นคงไร้ประโยชน์ ถ้ามีแผนที่บอกลักษณะภูมิประเทศและเส้นทางและมีข้อมูลเกี่ยวกับชุมชนนั้นก็คงจะดี...”

20 PRECEDE – PROCEED Planning Model
โมเดลหนึ่งของ Health planning model ค้นคิดโดย Larry Green & Marshall Kreuter ใช้กันอย่างแพร่หลาย (โดยเฉพาะ Government health program ในต่างประเทศ) PRECEDE = Predisposing, Reinforcing, and Enabling Constructs in Educational/Environmental Diagnosis and Evaluation) PROCEED = Policy, Regulatory, and Organizational Constructs in Educational and Environmental Development)

21 กรอบแนวคิดของ ASU ตาม PRECEDE-PROCEED Planning Model
Source: Green & Krenter, 1999 ขั้นที่ 4 วินิจฉัยสาเหตุ ขั้นที่ 3 วินิจฉัยพฤติกรรม & สิ่งแวดล้อม ขั้นที่ 2 วินิจฉัยด้าน ระบาดวิทยา ขั้นที่ 1 วินิจฉัยด้านสังคม ขั้นที่ 5 วินิจฉัยนโยบาย และการบริหาร มาตรการส่งเสริมสุขภาพ ปัจจัยนำ ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่น ความตั้งใจ การให้ความรู้ Health education พฤติกรรม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ ปัจจัยเสริม การร้องขอยาจากคนไข้ ความเห็นของผู้ร่วมงาน การส่งเสริมการขายยา มาตรการอื่นๆ: - นโยบายหรือการควบคุม - บริหารจัดการ - การจูงใจ สุขภาพ ของคนไข้ คุณภาพชีวิต บริบทใน รพ. (และชุมชน) ปัจจัยเอื้อ ชนิดของยา ABO การมียาทดแทนยา ABO อุปกรณ์ตรวจโรค ขั้นที่ 6 การลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 8 ประเมินผลกระทบ (Impact evaluation) ขั้นที่ 9 ประเมินผลลัพธ์ (Outcome evaluation) ขั้นที่ 7 ประเมินกระบวนการ (Process evaluation)

22 ข้อดี เป็นโมเดลที่มีความละเอียดและรัดกุม (Comprehensive and robust in nature) เป็นโมเดลที่มีทฤษฏีรองรับ (Theoretically grounded) บางส่วนของโมเดล มาจากทฤษฏีด้านพฤติกรรมสุขภาพ “Distinguishes the technician from the health behavior change professional” (Glanz et al., 2002)

23 ข้อจำกัด เป็นกรอบแนวคิดประเภท (Diagnosis Model) สำหรับวิเคราะห์หาสาเหตุ ไม่ใช่รูปแบบของ Intervention Model ไม่ได้บอกวิธีการแก้ปัญหา ดังนั้น จึงต้องดำเนินการวางแผน ตามข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ได้ เป็นกรอบแนวคิดสำหรับการวิเคราะห์หาสาเหตุปัญหาสุขภาพโดยจำกัดเฉพาะสาเหตุทางพฤติกรรมเท่านั้น จำนวนตัวแปรที่ในการวิเคราะห์มาก เป็นปัญหาในการเก็บรวบรวมข้อมูล

24 พฤติกรรม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ สุขภาพ ของคนไข้
Need assessment - Prioritization สาเหตุของพฤติกรรมได้สาเหตุหลัก คือ 1. ความรู้ ความเชื่อที่คลาดเคลื่อนและความไม่เชื่อมั่นของผู้สั่งใช้ยา 2. ความรู้สึกกดดันจากการร้องขอยาจากคนไข้ ขั้นที่ 4 วินิจฉัยสาเหตุ ขั้นที่ 3 วินิจฉัยพฤติกรรม & สิ่งแวดล้อม ขั้นที่ 2 วินิจฉัยด้าน ระบาดวิทยา ขั้นที่ 1 วินิจฉัยด้านสังคม ขั้นที่ 5 วินิจฉัยนโยบาย และการบริหาร มาตรการส่งเสริมสุขภาพ ปัจจัยนำ ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่น ความตั้งใจ การให้ความรู้ Health education พฤติกรรม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ ปัจจัยเสริม การร้องขอยาจากคนไข้ ความเห็นของผู้ร่วมงาน การส่งเสริมการขายยา มาตรการอื่นๆ: - นโยบายหรือการควบคุม - บริหารจัดการ - การจูงใจ สุขภาพ ของคนไข้ คุณภาพชีวิต บริบทใน รพ. (และชุมชน) ปัจจัยเอื้อ ชนิดของยา ABO การมียาทดแทนยา ABO อุปกรณ์ตรวจโรค ขั้นที่ 9 ประเมินผลลัพธ์ (Outcome evaluation) ขั้นที่ 6 การลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 8 ประเมินผลกระทบ (Impact evaluation) ขั้นที่ 7 ประเมินกระบวนการ (Process evaluation)

25 พฤติกรรม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ สุขภาพ ของคนไข้
วางแผน multifaceted interventions พัฒนาชุดสื่อและอุปกรณ์ เพื่อใช้สนับสนุนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กำหนดตัวชี้วัด และวิธีการประเมินผล ขั้นที่ 4 วินิจฉัยสาเหตุ ขั้นที่ 3 วินิจฉัยพฤติกรรม & สิ่งแวดล้อม ขั้นที่ 2 วินิจฉัยด้าน ระบาดวิทยา ขั้นที่ 1 วินิจฉัยด้านสังคม ขั้นที่ 5 วินิจฉัยนโยบาย และการบริหาร มาตรการ ปัจจัยนำ ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่น ความตั้งใจ การให้ความรู้ (เช่น อบรม แนะนำ เวที best practice) พฤติกรรม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ ปัจจัยเสริม การร้องขอยาจากคนไข้ ความเห็นของผู้ร่วมงาน การส่งเสริมการขายยา - นโยบาย (เช่น ของจังหวัด / หน่วยงาน) - บริหารจัดการ (เช่น บัญชียา / ใบสั่งยา) - การจูงใจ (เช่น R2R, สปสช / ประกวด /) สุขภาพ ของคนไข้ คุณภาพชีวิต บริบทใน รพ. (และชุมชน) ปัจจัยเอื้อ ชนิดของยา ABO การมียาทดแทนยา ABO อุปกรณ์ตรวจโรค ขั้นที่ 8 ประเมินผลกระทบ (Impact evaluation) ขั้นที่ 9 ประเมินผลลัพธ์ (Outcome evaluation) ขั้นที่ 6 การลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 7 ประเมินกระบวนการ (Process evaluation)

26 บุคลากรทางการแพทย์ คนไข้ และประชาชนทั่วไป

27

28

29

30

31

32 ผ่านทางอสม. อปท. หอข่าว รร. สื่อชุมชน
Source: Green & Krenter, 1999 ขั้นที่ 4 วินิจฉัยสาเหตุ ขั้นที่ 3 วินิจฉัยพฤติกรรม & สิ่งแวดล้อม ขั้นที่ 2 วินิจฉัยด้าน ระบาดวิทยา ขั้นที่ 1 วินิจฉัยด้านสังคม ขั้นที่ 5 วินิจฉัยนโยบาย และการบริหาร มาตรการส่งเสริมสุขภาพ ผ่านทางแพทย์ เภสัช พยาบาล จนท.สอ. ผ่านทางอสม. อปท. หอข่าว รร. สื่อชุมชน ปัจจัยนำ ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่น ความตั้งใจ การให้ความรู้ Health education พฤติกรรม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ ปัจจัยเสริม การร้องขอยาจากคนไข้ ความเห็นของผู้ร่วมงาน การส่งเสริมการขายยา มาตรการอื่นๆ: - นโยบายหรือการควบคุม - บริหารจัดการ - การจูงใจ สุขภาพ ของคนไข้ คุณภาพชีวิต บริบทใน รพ. (และชุมชน) ปัจจัยเอื้อ ชนิดของยา ABO การมียาทดแทนยา ABO อุปกรณ์ตรวจโรค ขั้นที่ 8 ประเมินผลกระทบ (Impact evaluation) ขั้นที่ 9 ประเมินผลลัพธ์ (Outcome evaluation) ขั้นที่ 6 การลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 7 ประเมินกระบวนการ (Process evaluation)

33 พฤติกรรม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ สุขภาพ ของคนไข้
ขั้นที่ 4 วินิจฉัยสาเหตุ ขั้นที่ 3 วินิจฉัยพฤติกรรม & สิ่งแวดล้อม ขั้นที่ 2 วินิจฉัยด้าน ระบาดวิทยา ขั้นที่ 1 วินิจฉัยด้านสังคม ขั้นที่ 5 วินิจฉัยนโยบาย และการบริหาร มาตรการส่งเสริมสุขภาพ ปัจจัยนำ ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่น ความตั้งใจ การให้ความรู้ Health education พฤติกรรม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ ปัจจัยเสริม การร้องขอยาจากคนไข้ ความเห็นของผู้ร่วมงาน การส่งเสริมการขายยา มาตรการอื่นๆ: - นโยบายหรือการควบคุม - บริหารจัดการ - การจูงใจ สุขภาพ ของคนไข้ คุณภาพชีวิต บริบทใน รพ. (และชุมชน) ขั้นที่ 9 ประเมินผลลัพธ์ (Outcome evaluation) ปัจจัยเอื้อ ชนิดของยา ABO การมียาทดแทนยา ABO อุปกรณ์ตรวจโรค ขั้นที่ 8 ประเมินผลกระทบ (Impact evaluation) ขั้นที่ 6 การลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 7 ประเมินกระบวนการ (Process evaluation) # 4 สุขภาพ-ความพึงพอใจ ของคนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO # 1 ความรู้ ความเชื่อมั่น ความตั้งใจ ก่อนและหลังอบรมของผู้สั่งใช้ยา # 2 ปริมาณและมูลค่าการใช้ยา ABO # 3 ร้อยละคนไข้ที่ไม่ได้ยา ABO ในโรคเป้าหมาย

34 การประเมินผลตามตัวชี้วัดและการเก็บข้อมูล
ตัวชี้วัด 1 การเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่นของบุคลากรทางการแพทย์หลังผ่านการอบรม Pre-test and post-test self-administered questionnaires ตัวชี้วัดที่ 2 การเปลี่ยนแปลงปริมาณและมูลค่าการสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะโดยรวมให้แก่ผู้ป่วยนอก เปรียบเทียบข้อมูลปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะของสถานพยาบาลก่อนและหลังการอบรมในช่วงเวลาเดียวกันในแต่ละปี ตัวชี้วัดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนผู้ป่วยนอกที่ไม่ได้รับยาปฏิชีวนะจากสถานพยาบาลเป้าหมาย ใช้ข้อมูลจากประวัติผู้ป่วยนอก (OPD cards) หรือ ICD-10 เกี่ยวกับจำนวนผู้ป่วยนอกที่ได้และไม่ได้รับยาปฏิชีวนะโดยเปรียบเทียบก่อน และหลังโครงการ ตัวชี้วัดที่ 4 ผลการรักษา ความพึงพอใจในการรักษาและความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วย สัมภาษณ์ผู้ป่วยทางโทรศัพท์ภายหลังได้รับการรักษา 7-10 วัน เพื่อติดตามผลการรักษา และความพึงพอใจ

35 From a generic model to a specific model
4. Implementation From a generic model to a specific model

36 A generic model for ASU implementation พื้นที่เจ้าของโครงการ
ประยุกต์ใช้แนวคิด ASU ในการวางแผน Multifaceted intervention & Evaluation ดำเนินการตามที่เหมาะสมกับบริบทของตนเอง ผู้สั่งใช้ยา ประชาชน ส่วนกลาง (สนับสนุนพื้นที่ และเชื่อมต่อนโยบาย) นำเสนอแนวคิด หลักการ ทิศทางของ ASU และ Multifaceted interventions พัฒนาและสนับสนุนสื่ออุปกรณ์ ดูแลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์โดยเน้นการทำงานแบบเครือข่าย และการมีส่วนร่วม ผ่านทางแพทย์ เภสัช พยาบาล จนท.สอ. ยุทธศาสตร์ ผ่านทางอสม. อปท. หอข่าว และสื่อชุมชน วิเคราะห์สาเหตุการใช้ยา ABO ความรู้ ความเชื่อของผู้สั่งยา ฯลฯ ความรู้สึกกดดันจากความคาดหวังหรือการร้องขอยาจากคนไข้ ตัวชี้วัด ปริมาณยาปฏิชีวนะ สัดส่วนผู้ป่วยที่ไม่ได้/ได้ยาปฏิชีวนะ สุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วย ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่นของผู้สั่งใช้ยา การถอดบทเรียน

37 A specific model for ASU implementation
อุบลราชธานี นโยบายชัดเจน เครือข่ายเข้มแข็ง พิธีการ เช่น การเปิดตัวโครงการ และการประกวด Zoning (4 เขต) นวตกรรม (เช่น แผ่น roll-up, แผ่นพลิก) จัดรายการวิทยุและเคเบิลท้องถิ่น

38 A specific model for ASU implementation
อยุธยา นโยบายชัดเจน แบ่งการดำเนินงานชัดเจน ด้านบุคลากรทางการแพทย์ อบรมทีมวิทยากร อบรมเครือข่ายนักวิจัย (R-2-R) ใช้การทำผลงานวิชาการเป็นแรงจูงใจ ด้านประชาชน จัดงาน event ต่างๆ จัดรายการวิทยุและ เคเบิลท้องถิ่น

39 A specific model for ASU implementation
สมุทรสงคราม เน้นวิสัยทัศน์ ผนวก ASU เข้ากับงานระบบยาของจังหวัด เน้นการประชุมกลุ่มเล็ก โดยใช้วิทยากรในพื้นที่ เน้นความยั่งยืน บริหารจัดการให้โครงการทั้งหลายสามารถให้สอดคล้องกัน และใช้ทรัพยากรร่วมกันได้

40 A specific model for ASU implementation
รพ. กันตัง (จ.ตรัง) เป็นตัวอย่างของ รพ.ที่สนใจทำโครงการเอง มีการประชุมองค์กรแพทย์เพื่อหารือ Tx guideline ประชุมกลุ่มเล็กโดยวิทยากรในพื้นที่

41 A specific model for ASU implementation
กลุ่ม รพ. ศรีวิชัย โรงพยาบาลเอกชน รพ.ศรีวิชัย 2 มีการปรับระบบใบสั่งยา สนใจตัวชี้วัดเรื่อง สุขภาพและความ พึงพอใจของคนไข้

42 ผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด และการแปลผลเชิงนโยบาย (ภาพรวมใน 2 ปี)
5. Results ผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด และการแปลผลเชิงนโยบาย (ภาพรวมใน 2 ปี)

43 สรุปผลตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ผล
ตัวชี้วัด 1 การเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่นของบุคลากรทางการแพทย์ มีการเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่นหลังการอบรม (p< 0.05) ตัวชี้วัดที่ 2 การเปลี่ยนแปลงปริมาณและมูลค่าการสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะโดยรวมให้แก่ผู้ป่วยนอก ลดลงหลังทำโครงการ ตัวชี้วัดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนผู้ป่วยนอกที่ไม่ได้รับยาปฏิชีวนะจากสถานพยาบาลเป้าหมาย เพิ่มขึ้นหลังทำโครงการ ตัวชี้วัดที่ 4 ผลการรักษา ความพึงพอใจในการรักษาและความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วย ผู้ป่วยเกือบทั้งหมดหายดีหรือมีอาการดีขึ้น แม้ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ

44 ตัวชี้วัด 2: การเปลี่ยนแปลงการใช้ยาปฏิชีวนะในช่วง 6 เดือนก่อนและหลัง intervention ในช่วงเวลาเดียวกัน (ASU-I) (ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า ลดลงร้อยละ 10) ปริมาณการใช้ปฏิชีวนะ (แสนเม็ด/แคปซูล) ปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ (พันขวด) -18% (1.44 แสนบาท) -23% (0.4 แสนบาท) -46% (0.5 แสนบาท) -39% (1.41 แสนบาท) ใน 6 เดือน สอ 44 แห่ง รพช 8 แห่ง ประหยัดค่ายาได้ 381,427 บาท คำนวนย้อนกลับเป็นของรพช.ทุกแห่ง (n=10) และ สอ.ทุกแห่งที่อยู่ในสังกัดรพช.(n=87) ใน 1 ปีจะประหยัดค่ายาได้กว่า 1.2 ล้านบาท ประเมินโดย: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ ที่มา: กองควบคุมยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. การประเมินโครงการนำร่องการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี (สิงหาคม 2551)

45 การแปรผลเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด 1: ปริมาณ-มูลค่าการใช้ยาปฏิชีวนะ (ASU-II)
โครงการปีที่ 2 ใช้งบดำเนินการใน 1 ปี รวมประมาณ 2.5 ล้านบาท ซึ่งเทียบเฉพาะเม็ดเงินก็นับว่าคุ้มค่า การคำนวณนี้ยังไม่รวมผลที่ได้จาก การลดความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ (ADR) แพ้ยา ดื้อยา ค่าใช้จ่ายในการรักษาการแพ้ยา ADR เชื้อดื้อยา ผลระยะยาวต่อการเปลี่ยนแปลงระบบ และการพัฒนาฐานความคิดของผู้สั่งใช้ยา การพัฒนาศักยภาพเครือข่าย และทรัพยากรมนุษย์ ที่มา: รายงานการศึกษาการขยายโครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use (กันยายน 2552)

46 จังหวัดควบคุม (อยุธยา) 5,865 ราย
ตัวชี้วัด 3: สัดส่วนของผู้ป่วย 3 โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ ในช่วง 6 เดือน ก่อนและหลัง intervention (ASU-I) (ตั้งเป้าหมายว่า เพิ่มขึ้นร้อยละ20 และเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุม) สระบุรี 8,099 ราย จังหวัดควบคุม (อยุธยา) 5,865 ราย 74.6 45.5 44.2 42.3 ผู้ป่วยที่ไม่ได้ยา ABO ในสระบุรีเพิ่มขึ้น 29.1% (p < 0.00) ประเมินโดย: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ ที่มา: กองควบคุมยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. การประเมินโครงการนำร่องการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี (สิงหาคม 2551)

47 การแปรผลเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด 3: ร้อยละผู้ป่วย 3 โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ (ASU-II)
ADR ของกลุ่มยาปฏิชีวนะสูงเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ ASU ช่วยให้ลดความเสี่ยงของ ADR ได้อย่างไร มากน้อยแค่ไหน? อุบลราชธานี: ก่อนโครงการ รพช. มีอัตราการจ่ายยาปฏิชีวนะในโรค URI ที่ 50.4% แต่หลังทำโครงการลดลงอยู่ที่ 37.5% (-12.9%) หากแปลผลเป็นจำนวนคนไข้ในช่วง 4 เดือน คนไข้ URI มารับการรักษาทั้งสิ้น 52,400 คน และหากจ่ายยาปฏิชีวนะเหมือนเดิมก่อนเริ่มทำโครงการจะทำให้คนไข้ 26,410 คนได้รับยาปฏิชีวนะ แต่เนื่องจากทำโครงการ จึงทำให้มีคนไข้เพียง 19,663 คนได้รับยาปฏิชีวนะ แปลว่า รพช.ในอุบลราชธานีป้องกันคนไข้จำนวน 6,747 คนไม่ให้ได้รับอันตรายจากการได้รับยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็น และป้องกันไม่ให้คนไข้เหล่านี้เป็น host ของการกลายพันธุ์ของเชื้อดื้อยา ตัวเลข 6,747 นี้เป็นเพียงตัวอย่างใน 1 โรค ใน 1 พื้นที่ ในช่วงเวลาเพียง 4 เดือน หากคำนวนโดยคิดเป็น 1 ปี โรงพยาบาลชุมชน 20 แห่งในจังหวัดอุบลราชธานีจะช่วยป้องกันคนไข้ URI จากการได้รับยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็น เป็นจำนวนถึง 20,241 คน ที่มา: รายงานการศึกษาการขยายโครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use (กันยายน 2552)

48 ตัวชี้วัด 4: สุขภาพและความพึงพอใจของคนไข้โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ (N = 1,200) (ASU-I)
(ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70) สุขภาพ % ผู้ป่วย % pt (avg.) หวัด (N = 645) ท้องเสีย (N = 385) แผล (N = 50) ผลหลังการรักษา 7-10 วัน - หายเป็นปกติ 80.5 95.3 87.4 86.2 - อาการดีขึ้น 15.2 3.4 11.4 10.9 - อาการคงเดิม 3.7 1.3 1.2 2.6 - อาการแย่ลง 0.6 0.3 การแสวงหาการรักษาเพิ่มเติม - ไม่ได้รับการรักษาเพิ่มเติม 88.7 91.4 76.0 87.8 - รับการรักษาตามนัด 0.8 13.2 2.5 - รับการรักษาจากสถานที่อื่น 9.6 7.5 10.2 9.0* - รับการรักษาที่เดิมโดยไม่ได้นัดหมาย 0.9 0.7 * ครึ่งหนึ่งเป็นนักท่องเที่ยวและเจ็บป่วยที่สระบุรี จึงกลับไปรักษาต่อที่ภูมิลำเนาเดิม ที่มา: กองควบคุมยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. การประเมินโครงการนำร่องการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี (สิงหาคม 2551) ประเมินโดย: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ

49 ความพึงพอใจของผู้ป่วย (n=1196)
ตัวชี้วัด 4: สุขภาพและความพึงพอใจของคนไข้โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะ (N = 1,200) (ASU-I) (ตั้งเป้าหมายตอนเริ่มต้นว่า ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70) ความพึงพอใจของผู้ป่วย (n=1196) ผู้ป่วย (ร้อยละ) เห็นด้วย/ พอใจ เฉยๆ ไม่เห็นด้วย/ ไม่พอใจ 1. ท่านคิดว่าหมอรักษาได้ถูกต้อง 90.5 6.9 2.6 2. ท่านพอใจในการรักษา แม้ว่าหมอไม่ได้ให้ยาปฏิชีวนะ (ยาฆ่าเชื้อแก้อักเสบ) 89.3 7.0 3.7 3. ท่านเห็นว่าหมอสนใจตรวจโรค/อาการของท่านอย่างดี 91.3 5.0 4.ท่านเห็นว่าหมอตั้งใจอธิบายเรื่องโรค/อาการของท่านอย่างดี 87.8 6.0 6.2 5. ท่านพอใจวิธีการรักษาของหมอ 89.9 3.1 6. รวมๆ แล้วท่านพอใจกับผลการรักษา 91.1 6.1 2.8 7. ถ้าครั้งหน้าท่านป่วย/ไม่สบายแบบนี้อีก ท่านอยากมารักษาที่นี่อีก 2.7 ที่มา: กองควบคุมยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. การประเมินโครงการนำร่องการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use ในจังหวัดสระบุรี (สิงหาคม 2551) ประเมินโดย: กัญญดา อนุวงศ์ และคณะ

50 การแปรผลเชิงนโยบาย ตัวชี้วัด 4: สุขภาพและความพึงพอใจของคนไข้ (ASU-II)
ผลการรักษาเมื่อคนไข้ไม่ได้รับยาปฏิชีวนะเป็นอย่างไร มั่นใจกับผลที่ได้มากน้อยแค่ไหน? การติดตามคนไข้โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะในจังหวัดสมุทรสงคราม (N = 151) และกลุ่มโรงพยาบาลศรีวิชัย (N = 917) พบว่า คนไข้เกือบทั้งหมด (96% และ 99.3% ตามลำดับ) หายเป็นปกติหรืออาการดีขึ้น มากกว่า 80-90% พึงพอใจต่อการรักษาที่ได้รับ และจะกลับมารักษาที่นี่อีก การติดตามคนไข้โรคเป้าหมายที่ไม่ได้ยาปฏิชีวนะในการนำร่องที่สระบุรี (N = 1,200) พบว่า คนไข้เกือบทั้งหมด (97.1%) หายเป็นปกติหรืออาการดีขึ้น กว่า 90% มีความพึงพอใจกับการรักษา และจะกลับมารักษาที่แห่งเดิมอีก ข้อมูลจากการติดตามคนไข้ใน 3 แหล่งนี้ซึ่งมีทั้งคนไข้ที่เป็นคนในเมือง คนชานเมือง และคนต่างจังหวัด ล้วนยืนยันผลซึ่งกันและกัน จึงสามารถสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้สั่งใช้ยาและผู้กำหนดนโยบายได้ว่าคนไข้ในโรคเป้าหมายสามารถหายได้เป็นปรกติหรือมีอาการดีขึ้นแม้ไม่ได้รับยาปฏิชีวนะ ที่มา: รายงานการศึกษาการขยายโครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use (กันยายน 2552)

51 6. Conclusion

52 สรุป ASU เดินมาถูกทางแล้ว
ประสบความสำเร็จในการทำให้มีการเปลี่ยนแปลง (ตามตัวชี้วัด) ประสบความสำเร็จในการทำให้มีการเชื่อมต่องานเชิงบูรณการของหน่วยงานและปลุกกระแสการเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบาย สปสช การรณรงค์สู่ภาคประชาชน (ผ่านกองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค อย) การเชื่อมต่อกับ สสส. (ผ่าน กพย.) การเชื่อมกับ NARST etc. ASU เน้นการทำงานแบบเครือข่าย (แบบปลาดาว) และการทำงานอย่างมีส่วนร่วม พื้นที่แต่ละแห่งเป็นเจ้าของโครงการ โดยมีการนำแนวคิด ASU ไปออกแบบกลยุทธ์ให้เหมาะกับพื้นที่ตน และพัฒนาศักยภาพของตนให้สามารถพึงพาตนเอง และพึงพาระหว่างกันได้ (ระบบพี่เลี้ยง) ส่วนกลางทำหน้าที่สนับสนุน เชื่อมต่อนโยบาย และพัฒนาระบบรองรับการดำเนินงานของจังหวัดหรือพื้นที่ในภาพรวม ความต่อเนื่องของ ASU จะอาศัยกลไกของระบบหรือนโยบายที่พัฒนาร่วมกันระหว่างพื้นที่และส่วนกลางเพื่อนำพาสู่เป้าหมาย

53 What’s next?

54 7. เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ (2553-2555)
“…2 ปีที่ผ่านมา พวกเราชาว ASU ได้สั่งสมชุดประสบการณ์ของการทำงานร่วมกัน จึงสรุปเป็นแนวทางการขับเคลื่อนของ ASU ในอนาคต…”

55 เป้าหมาย (ปี 2553 – 2555) ในปี 2555 การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลใน 3 โรคเป้าหมาย จะเป็นงานประจำของสถานพยาบาล และเป็นบรรทัดฐานทางสังคม

56 ยุทธศาสตร์ (ปี 2553 – 2555) ยุทธศาสตร์ที่ 1: การขับเคลื่อนเชื่อมต่อนโยบาย และพัฒนาระบบรองรับการทำงาน พื้นที่: บรรจุ ASU เป็นงานประจำของหน่วยงาน ส่วนกลาง: เกณฑ์ สปสช. (เกณฑ์ HA และระบบรายงานผล) ยุทธศาสตร์ที่ 2: การพัฒนาเครือข่าย สรรหาพันธมิตร/แนวร่วมให้กว้างขึ้น และมีระบบ buddy-พี่เลี้ยง: พื้นที่-พื้นที่, พื้นที่-มหาวิทยาลัย พัฒนาศักยภาพ: กลุ่มอำนวยการ, ทีมวิทยากร, ฝ่ายประเมินผล, ฝ่ายสื่อสาร ect. ขวัญกำลังใจ: เวทีแลกเปลี่ยนสัญจร ยุทธศาสตร์ที่ 3: การสื่อสารสาธารณะ และการรณรงค์ภาคประชาชน

57 เป้าหมายหลังปี 2555 หลังจากปี 2555 ASU จะเปลี่ยนสภาพจาก “โครงการ” เป็น “แนวคิดหรือบรรทัดฐาน” ด้านการใช้ยาที่เหมาะสมที่หยั่งรากในใจและการปฏิบัติของผู้คน

58 8. Successful stories 1. การขยายตัวของโครงการ 2. รางวัลผลงานวิชาการ
3. เรื่องราวผ่าน VCD เรื่อง ประสบการณ์ของเพื่อนผู้ก้าวก่อน

59 การขยายผล ASU ได้รับการตอบรับ และสามารถขยายสู่พื้นที่ต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ผ่านไป 2 ปี มีภาคีเครือข่ายส่วนกลางเพิ่มขึ้น สปสช. – สนับสนุนนโยบายให้ ASU เป็นตัวชี้วัด กพย. – สนับสนุนยุทธศาสตร์การรณรงค์ภาคประชาชน กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค (อย.) กำลังประสานความร่วมมือ: NARST สมาคมเภสัชกรรมชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขของ กทม. สถาบันการศึกษาต่างๆ และอื่นๆ จำนวนพื้นที่เจ้าของโครงการเพิ่มขึ้น ปีที่ 1: มี 1 จังหวัด ปีที่ 2: มี 3 จังหวัด และ 2 โรงพยาบาลเครือข่าย ปีที่ 3: จะทำ National survey เพื่อดูการแพร่กระจาย!

60 3 รางวัล ภาคีเครือข่ายส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค
3 รางวัล ภาคีเครือข่ายส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค มีนาคม 2552: อย.และทีม ASU ของส่วนกลาง ได้รับ “รางวัลผลงานวิชาการดีเด่น” ในการประชุมวิชาการประจำปีของกระทรวงสาธารณสุขประจำปี 2552 กรกฎาคม 2552: สถานีอนามัย หลังเขา จังหวัดสระบุรี ได้รับ “รางวัลยอดเยี่ยม” ในการประชุม R2R ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กันยายน 2552: จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับ “รางวัลที่ 1” จากการประกวดโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการประจำปีของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

61 ประสบการณ์ของ เพื่อนผู้ก้าวก่อน

62 Questions?

63 แผนที่โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
(Project map of Antibiotics Smart Use) 1. บุคลากรทางการแพทย์ (Supply side) ลดการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ (ผนวกเป็นงานประจำ) เป้าหมาย: ในปี 2555 การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลใน 3 โรคเป้าหมาย จะเป็นงานประจำในสถานพยาบาล และบรรทัดฐานทางสังคม 1.1 โรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย (1) กรอบแนวคิด (ชุดประสบการณ์ ) รพ. เอกชน (รพ.ศรีวิชัย) คลินิก ร้านยา คนไข้ ครอบครัว ชุมชน ผู้สั่ง ใช้ยา รพช. & สอ. (หลายแห่ง) (2) สู่ความยั่งยืนในงานประจำ รร. บุคลากรฯ รร. ปชช. 2. คนไข้-ประชาชน (Demand side) พื้นที่ ส่วนกลาง ยุทธศาสตร์ 1: นโยบาย ผู้นำ นโยบาย เกณฑ์ สปสช. เกณฑ์ HA ยุทธศาสตร์ 2: เครือข่าย ทีมงาน อบรม / กระตุ้น / ติดตาม ประเมิน / เรียนรู้ / R2R งานประจำ ระบบ buddy เวทีแลกเปลี่ยน ระบบรายงานผล KM / Research map Mission 1 ทำให้ได้ผล เกิดประโยชน์แก่ ปชช. 2 ผนวก ASU เป็นงานประจำ 3 บุคลากร/ชุมชนมีศักยภาพ 4 มีระบบ buddy การสร้างระบบ-นโยบาย แบบมีส่วนรวมโดยกลไก ของระบบ-นโยบายจะ นำพาสู่เป้าหมาย รพศ. รพท. ศูนย์ฯ กทม. ลดความต้องการยาปฏิชีวนะ (บรรทัดฐานทางสังคม) รพ.รร. แพทย์ ยุทธศาสตร์ 3: ประชาชน พื้นที่ ส่วนกลาง โครงการนำร่องเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม ปชช. ชุดสื่อให้พื้นที่นำไป ใช้ PR วงกว้าง - PR ความรู้ - PRเครือข่าย Mission หารูปแบบที่เหมาะสม ช่วยให้พื้นที่ทำงานง่ายขึ้น หลักการ: ASU เป็นการเปลี่ยนแปลงจากระดับปฏิบัติผ่านกระบวนการวิจัยเพื่อผลักดันให้เกิดเป็นนโยบายของประเทศ (Routine to Research to Policy) เน้นการสร้างกระบวนการเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีการประเมินผลสัมฤทธิ์และการถอดบทเรียนเพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการควบคู่กันไป ความต่อเนื่องของโครงการจะอาศัยกลไกของระบบหรือนโยบายที่พัฒนาร่วมกันนำพาสู่เป้าหมาย กรอบแนวคิด (ชุดประสบการณ์) ภาคประชาชน ASU บริหารแบบเครือข่าย พื้นที่แต่ละแห่งมีการพัฒนาศักยภาพของตนให้สามารถพึงพาตนเอง และพึงพากันเองในเครือข่าย ASU ไม่มีหัวหน้าหรือแกนนำจากส่วนกลาง จะมีแต่จังหวัดหรือพื้นที่ที่เป็นเจ้าของโครงการที่ดำเนินงานโดยอิสระให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับบริบทของตน โดยส่วนกลางทำหน้าที่สนับสนุน และพัฒนาระบบรองรับการดำเนินงานของจังหวัดหรือพื้นที่ในภาพรวม ขยายผลในพื้นที่กว้างขึ้น และสั่งสมชุดประสบการณ์ ผนวกเข้ากับระบบที่มีอยู่ในภาคประชาชน และพัฒนาระบบนโยบายรองรับ 1.2 โมเดลในสถานพยาบาลอื่นๆ รพ.รร.แพทย์ รพศ. รพท. ศูนย์สุขภาพฯ กทม คลินิก ร้านยา ภาคีเครือข่ายของส่วนกลาง เช่น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แผนงานกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ อื่นๆ Version: 16 Oct 2009 by Nithima Sumpradit


ดาวน์โหลด ppt โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ภาพรวมของ 2 ปีที่ผ่านมา)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google