งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

2 ระยะของการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ
ระยะก่อนเกิดเหตุการณ์ (การเตรียมพร้อม) ขณะเกิดเหตุการณ์ (การตอบโต้) หลังเกิดเหตุการณ์ (การฟื้นฟู)

3 การประเมินความเสี่ยง
ภัยพิบัติ ระยะเตรียมพร้อม การพัฒนานโยบาย การประเมินความเสี่ยง ระยะบรรเทาภัย ระยะตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน ระยะฟื้นฟูบูรณะ

4 การประเมินความเสี่ยง
การจัดการความเสี่ยง การบรรเทาทุกข์ การเตรียมความพร้อม

5 ปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณา
Coping Capacity Vulnerability Hazard

6 การดำเนินงานสาธารณสุขในภาวะฉุกเฉิน
ป้องกันการระบาดและการแพร่กระจายของโรค ป้องกันสิ่งอันตรายจากสิ่งแวดล้อม ป้องกันการบาดเจ็บ ส่งเสริมสนับสนุนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความช่วยเหลือในการปรับคืนสภาพของชุมชน การจัดบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพและทั่วถึง

7 การประเมินความเสี่ยง????
ผลที่เกิดตามมา ความรุนแรง โอกาสที่จะเกิด การได้รับสัมผัส

8 ประโยชน์ของการประเมินความเสี่ยง
ช่วยให้สามารถอธิบายผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม ช่วยในการตัดสินใจเลือกกรณีที่มีความขัดแย้ง เป็นฐานข้อมูล เพิ่มขีดความสามารถของผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจ

9 ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง
กำหนดปัญหา ชี้บ่งอันตราย ระบุความเป็นอันตราย ประเมินการได้รับสัมผัส ระบุความเสี่ยง

10 ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง
การชี้บ่งภัยคุกคาม (Hazard identification) การระบุลักษณะภัยคุกคาม (Hazard characterisation) การประเมินการได้รับสัมผัสภัย (Exposure assessment) การระบุความเสี่ยงของภัยคุกคาม (Risk charactersation)

11 ขั้นที่1: การชี้บ่งภัยคุกคาม
คุณลักษณะ/ คุณสมบัติ ของสารหรือสิ่งที่เป็นอันตราย - กายภาพ, ชีวภาพ, เคมี ตัวอย่าง - แบคทีเรีย - จุลชีพที่สร้างสารพิษ - โลหะ - ซากปรักหักพัง

12 ขั้นที่1: การชี้บ่งภัยคุกคาม
แนวทางการพิจารณา - มีแหล่งกำเนิดของอันตรายหรือไม่ - ใครที่ได้รับอันตราย - อันตรายเกิดขึ้นได้อย่างไร การได้มาของข้อมูล - ข้อมูลวิชาการ - ข้อมูลทางระบาดวิทยา - จากผู้เชี่ยวชาญ - ข้อมูลประชากร

13 ขั้นที่ 2: การระบุลักษณะของภัยคุกคาม
กลไกการเกิดผลเสีย ความเป็นพิษต่อชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม ความรุนแรง ทางของการได้รับสัมผัส

14 ภาวะสมดุลย์ Agent Host Env. เสียสมดุล Agent Host Env.

15 ข้อมูลที่ต้องการ ข้อมูลของภัยคุกคาม คุณสมบัติ/ คุณลักษณะ
ความเป็นพิษ (Toxicity/ pathogenicity) ความรุนแรง/ ความร้ายแรง(Severity/ virulence) แหล่งของการได้รับสัมผัส ปริมาณ/ ความเข้มข้น เส้นทางของภัยอันตราย ทางของการได้รับสัมผัส

16

17 ขั้นที่ 3: การประเมินการได้รับสัมผัสภัย
Exposure Estimation of likelihood of adverse effect given exposure Amount (Dose) - Duration Frequency Route Dose of exposure Dose of adverse effect human epidemiolgy Model development/ selection - Consumption data Population at risk Other relevant data

18 ข้อมูลที่ต้องการ ปริมาณ ความเข้มข้น ช่วงเวลา ความถี่
- การตรวจวัดโดยตรง - ประมาณจากข้อมูลพื้นฐาน - การศึกษาวิจัยจากงานอื่นๆ - ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

19 ข้อมูลที่ต้องการ สัตว์ทดลอง ทดลองในอาสาสมัคร จากงานอื่นๆ
 ขนาดของภัยคุกคามที่ก่อให้เกิดผลเสีย (Dose response relationship) สัตว์ทดลอง ทดลองในอาสาสมัคร จากงานอื่นๆ ข้อมูลการเฝ้าระวัง ข้อมูลทางระบาดวิทยา

20 ขั้นที่ 4:การระบุความเสี่ยงของภัยคุกคาม
บูรณาการทั้ง 3 ส่วนเพื่อระบุ - ความเสี่ยงของการได้รับสัมผัส - ประชากรกลุ่มเสี่ยง - ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

21 วิธีการประเมิน Exposure Vulnerability Risk Hazard
Risk = (Hazard x Exposure) x vulnerability

22 วิธีการประเมินการได้รับสัมผัส
การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ (Qualitative) การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ (Quantitative)

23 แผนภูมิความเสี่ยง (Risk matrix)
ผลเสียที่เกิดตามมา โอกาสเกิด ร้ายแรงมากที่สุด ร้ายแรงมาก 4 ร้ายแรงปานกลาง ร้ายแรงน้อยมาก ไม่ร้ายแรง 1 สูงมาก 5 สูง เป็นไปได้ 3 น้อย น้อยมาก 1

24 แผนภูมิความเสี่ยง (Risk matrix)
High risk Low risk

25

26 ตัวอย่าง: การประเมินความรุนแรงของน้ำท่วม
ปริมาณน้ำฝน(มม.) ระยะเวลาน้ำท่วม (วัน) ความถี่ของการเกิด (ครั้ง/ปี) การจำแนก คะแนน การจำแนก คะแนน > < > < > <

27 ความรุนแรงของน้ำท่วม
ระดับน้ำท่วม (มม.) ระยะเวลาของ น้ำท่วม (วัน) ความรุนแรงของน้ำท่วม ปริมาณน้ำฝน (มม./ปี) ความถี่ของการเกิด (ครั้ง/10ปี)

28 ระดับความอ่อนแอ ต่อผลกระทบ ความหนาแน่น ปชก. สาธารณูปโภค
พื้นที่การเกษตร พื้นที่อยู่อาศัย เส้นทางคมนาคม ระบบการเตรียมพร้อม

29 ตัวอย่าง: การใช้ Risk matrix ในการประเมินความเสี่ยงของน้ำท่วม
ความรุนแรงของน้ำท่วม ความอ่อนแอ

30 ปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณา
Coping Capacity Vulnerability Hazard

31 การประเมินความเสี่ยง การสื่อสารความเสี่ยง
Risk Management การจัดการความเสี่ยง Risk Assessment การประเมินความเสี่ยง Scientific base Policy base Risk Communication การสื่อสารความเสี่ยง Information exchange concern risk


ดาวน์โหลด ppt การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google