งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การอบรม หลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานภายใต้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอบรม หลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานภายใต้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอบรม หลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานภายใต้
ภารกิจหลักของสำนักงานพาณิชย์จังหวัด ปีงบประมาณ 2554” โดย... นายพูนทวี ชัยวิจิตมลากูล อาจารย์ประจำศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 20 กรกฎาคม 2554

2 กำหนดการอบรม 09.00น น. การวิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจผ่านตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต 13.00น น. แนวทางการจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำอุปสงค์จังหวัด ข้อ 2

3 การวิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจผ่านตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต

4 ทำไมต้องรู้จักตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต?
- กระทรวงพาณิชย์มีแผนงานและกำลังดำเนินการผลักดันให้มีการจัดทำข้อมูลอุปสงค์สินค้าและบริการในระดับจังหวัด - ข้อมูลอุปสงค์สินค้า/บริการในจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ มีความสำคัญอย่างยิ่งในการนำไปใช้ประกอบการวางแผนงาน หรือการกำหนดมาตรการต่างๆ เพื่อสร้างความสมดุลระหว่างการผลิตและความต้องการของตลาด เป็นการช่วยลดภาระของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาภาวะสินค้าล้นตลาด ขาดตลาด ที่ส่งผลต่อเสถียรภาพราคาสินค้าและระบบเศรษฐกิจการค้า - ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตเป็นเครื่องมือตัวหนึ่งที่มีศักยภาพ ในการแสดงอุปสงค์สินค้าและบริการต่างๆ ในจังหวัดได้อย่างชัดเจน ดังนั้นการจัดทำอุปสงค์ระดับจังหวัดจึงอาศัยแนวทางการคำนวณอุปสงค์ในรูปแบบเดียวกับตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต ข้อ 2

5 ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตคืออะไร?
ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต คือ เครื่องมือที่แสดงการไหลเวียนของสินค้าในจังหวัด ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งระบบเศรษฐกิจอยู่ในภาวะดุลยภาพ หรืออุปสงค์ของสินค้าเท่ากับอุปทานของสินค้า ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต คือ เครื่องมือที่แสดงถึงการใช้ปัจจัยการผลิต และการกระจายผลผลิตในประเทศหรือในจังหวัด ข้อ 2 ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต คือ เครื่องมือการวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจตัวหนึ่งที่แสดงการซื้อและการขายสินค้าและบริการในประเทศหรือในจังหวัด

6 ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตคืออะไร?
ต้นกำเนิด ตาราง I-O ปีพ.ศ. 2484 ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตถูกคิดค้นโดย Wassily Leontief ซึ่งได้จัดทำ input-output table for the American economy โดยมีขนาด 3กิจกรรม ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และ การขนส่ง ข้อ 2

7 ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตคืออะไร?
รูปแบบทั่วไปของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต ข้อ 2

8 องค์ประกอบของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ส่วนประกอบของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต องค์ประกอบของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย อุปสงค์ของการใช้ปัจจัยการผลิต หรืออุปสงค์สินค้าขั้นกลางของผู้ผลิต อุปสงค์สินค้าของผู้บริโภค ข้อ 2

9 การอ่านค่าตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
การอ่านค่าตารางปัจจัยการผลิตและผลลิตสามารถอ่านค่าได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ การอ่านค่าทางแนวตั้ง : เป็นการพิจารณาถึง มูลค่าการใช้ปัจจัยการผลิต เช่น วัตถุดิบ ค่าบริหารจัดการ ค่าแรงงาน และกำไรของธุรกิจ รวมถึงมูลค่าการบริโภคสินค้าและบริการต่างๆ ในประเทศหรือจังหวัด (การซื้อสินค้าและบริการ) การอ่านค่าทางแนวนอน : เป็นการพิจารณาถึง การกระจายหรือการขายสินค้า และบริการของผู้ผลิต ว่ามีการขายสินค้าให้กิจกรรมการผลิต ครัวเรือน รัฐบาล และส่งออกเท่าไร รวมถึงมีมีการเก็บเป็นสินค้าคงคลัง และใช้ในการลงทุนเท่าไร ข้อ 2

10 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
แนวคิดการวิเคราะห์ผลกระทบ การใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตในการวิเคราะห์ผลกระทบต่อการผลิตในจังหวัดนั้นเป็นการพิจารณาถึงปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นและเข้ามากระทบต่อระบบเศรษฐกิจที่อยู่ในภาวะดุลยภาพให้เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งผลของดลุยภาพที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นคือผลกระทบที่เกิดขึ้น ผลกระทบภายนอก หรือ อุปสงค์ที่เปลี่ยนแปลงไป ดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์เท่ากับอุปทาน ผลกระทบที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงของผลผลิต ข้อ 2

11 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ขั้นตอนการวิเคราะห์ผลกระทบ ขั้นตอนที่ 1 แบ่งแยกตัวแปรภายนอกภายใน ขั้นตอนที่ 2 คำนวณตัวคูณของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต ขั้นตอนที่ 3 การคำนวณผลกระทบ ข้อ 2

12 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ขั้นตอนที่ 1 แบ่งแยกตัวแปรภายนอกภายใน อุปสงค์รวม (310) มูลค่าการนำเข้าสินค้าและภาษีศุลกากร (409) มูลค่าส่วนเหลื่อมทางการค้าและค่าขนส่ง (509) มูลค่าผลผลิต (อุปสงค์รวมหักด้วยมูลค่าการนำเข้ามูลค่าส่วนเหลื่อมทางการค้าและค่าขนส่ง) (600) อุปทานรวม (มูลค่าผลผลิตรวมด้วยมูลค่าการนำเข้ามูลค่าส่วนเหลื่อมทางการค้าและค่าขนส่ง) (700) มูลค่าการใช้ปัจจัยการผลิต อุปสงค์ขั้นสุดท้าย มูลค่าการกระจายสินค้า มูลค่าการใช้ปัจจัยการผลิตขั้นกลาง (190) มูลค่าการบริโภคของเอกชน และรัฐ ( ) มูลค่าการลงทุน (303) ส่วนเปลี่ยน แปลงสินค้าคงคลัง (304) มูลค่าการส่งออกสินค้า ( ) มูลค่าเพิ่ม (209) มูลค่าผลผลิต (210= ) ตัวแปรภายใน ตัวแปรภายนอก

13 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ขั้นตอนที่ 2 คำนวณตัวคูณของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต การคำนวณตัวคูณของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตหรือ Leontief Inverse Matrix” ((I-An)-1) ซึ่งสูตรการคำนวณแสดงได้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 นำมูลค่าการใช้ปัจจัยการผลิตขั้นกลางแต่ละรายการหารด้วยมูลค่าผลผลิต ซึ่งผลที่ได้คือ สัดส่วนการใช้ปัจจัยการผลิตขั้นกลางต่อมูลค่าผลผลิต(An) ข้อ 2

14 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ขั้นตอนที่ 2 คำนวณตัวคูณของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต ขั้นตอนที่ 2 นำเมตริกซ์เอกลักษณ์ (I) ลบด้วยสัดส่วนการใช้ปัจจัยการผลิตขั้นกลางต่อมูลค่าผลผลิต (I-An) หลังจากนั้นนำมาคำนวณอินเวอร์สเมตริกซ์ซึ่งผลที่ได้คือตัวคูณผลกระทบ ((I-An) -1) ข้อ 2

15 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ขั้นตอนที่ 3 การคำนวณผลกระทบ การคำนวณผลกระทบจากปัจจัยภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นเป็นการนำเวกเตอร์ของตัวแปรภายนอกไปคูณกับตัวคูณของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต โดยผลที่ได้แสดงผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยสามารถเขียนสูตรได้ดังนี้ ข้อ 2

16 ข้อ 2 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ขั้นตอนที่ 3 การคำนวณผลกระทบ นอกจากตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตสามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ขั้นสุดท้ายต่อมูลค่ากการผลิต ตารางปัจจัยการผลิตยังสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดกับการจ้างงาน และมูลค่าเพิ่ม โดยสูตรในการคำนวณมีดังนี้ การวิเคราะห์ผลกระทบต่อการจ้างงาน จำนวนแรงงานในสาขาการผลิต n มูลค่าผลผลิตสาขาการผลิต n ข้อ 2 โดยที่ คือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสินค้า n หรือมูลค่าผลผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปของสินค้า n คือ มูลค่าการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกหรืออุปสงค์ขั้นสุดท้าย คือ สัมประสิทธิ์ของการจ้างงาน

17 ข้อ 2 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ขั้นตอนที่ 3 การคำนวณผลกระทบ นอกจากตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตสามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ขั้นสุดท้ายต่อมูลค่ากการผลิต ตารางปัจจัยการผลิตยังสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดกับการจ้างงาน และมูลค่าเพิ่ม โดยสูตรในการคำนวณมีดังนี้ การวิเคราะห์ผลกระทบต่อมูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่มในสาขาการผลิต n มูลค่าผลผลิตสาขาการผลิต n ข้อ 2 โดยที่ คือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสินค้า n หรือมูลค่าผลผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปของสินค้า n คือ มูลค่าการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกหรืออุปสงค์ขั้นสุดท้าย คือ สัมประสิทธิ์ของมูลค่าเพิ่ม

18 ข้อ 2 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
ขั้นตอนที่ 3 การคำนวณผลกระทบ Input-Output Program for Provincial Analysis (IOPPA) การใช้งานโปรแกรม IOPPA ประกอบไปด้วย 6 ส่วนหลักๆ ได้แก่ 1. การเข้าสู่โปรแกรม IOPPA 2. การกำหนดข้อมูลพื้นฐาน 3. การนำเสนอตารางข้อมูล 4. การวิเคราะห์ผลกระทบ 5. รายงาน 6. กราฟ ข้อ 2

19 การวิเคราะห์ผลกระทบโดยใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
การคำนวณผลกระทบจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ ตามปกติตัวแปรภายนอกที่จะเข้ามาส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจนั้นถูกระบุให้เป็นอุปสงค์ขั้นสุดท้าย ซึ่งทำให้การนำตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตไปใช้ในการวิเคราะห์อยู่ในวงจำกัด ดังนั้นเพื่อลดข้อจำกัดดังกล่าวผู้ศึกษาสามารถนำแนวคิดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์มาประยุกต์กับสูตรในการคำนวณผลกระทบของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตได้ ปัจจัยภายนอกอื่นๆ ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปสงค์ที่เปลี่ยน แปลงไป ตาราง I-O ผลผลิตที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อ 2

20 แนวทางการจัดเก็บข้อมูล เพื่อจัดทำอุปสงค์จังหวัด

21 ประเภทข้อมูลที่ต้องจัดเก็บก่อนจัดทำอุปสงค์สินค้า
ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลที่สามารถจัดเก็บได้ของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนที่เคยจัดเก็บไว้ ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้ศึกษาวิจัยต้องจัดเก็บข้อมูลโดยการสำรวจภาคสนาม หรือสอบถามจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้ศึกษาวิจัยต้องจัดทำแบบสอบถามขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ข้อ 2

22 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อจัดทำอุปสงค์จังหวัด

23 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณ อุปสงค์เป็นการนำเสนอข้อมูลต่างๆ ที่ผู้ต้องการจัดทำอุปสงค์สินค้าและบริการจำเป็นต้องทราบก่อนการจัดทำอุปสงค์ โดยรายละเอียดแบ่งเป็น 4 ส่วนหลักๆ โครงสร้างการใช้ปัจจัยการผลิตและการกระจายผลผลิตของสินค้าเป้าหมาย ลักษณะพื้นฐานของสินค้าเป้าหมาย ข้อมูลสถิติต่างๆของสินค้าเป้าหมาย วิถีตลาดของสินค้าเป้ามาย ข้อ 2

24 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
โครงสร้างการใช้ปัจจัยการผลิตและการกระจายผลผลิตของสินค้าเป้าหมาย โครงสร้างการใช้ปัจจัยการผลิต (ข้อมูลแนวตั้ง) โครงสร้างการกระจายผลผลิต (ข้อมูลแนวนอน) ตารางปัจจัย การผลิตและผลผลิต แหล่งข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลจากแบบสอบถามในส่วนของความต้องการใช้วัตถุดิบและบริหารจัดการ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลจากแบบสอบถามในส่วนของการกระจายผลผลิตหรืออุปสงค์สินค้า สาเหตุที่ต้องทราบข้อมูล นอกจากนี้ยังใช้กำหนดกิจกรรมที่เกี่ยวของและใช้กำหนดรายละเอียดแบบสอบถามในข้อ3และ4

25 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) ลักษณะพื้นฐานของสินค้าเป้าหมาย ลักษณะพื้นฐานของสินค้าเป้าหมายในจังหวัดเป็นข้อมูลตัวหนึ่งที่ที่ผู้จะจัดทำอุปสงค์จำเป็นต้องทราบ เนื่องจากทำให้ผู้จัดทำเข้าใจถึงสถานะในด้านต่างๆของสินค้าเป้าหมายในปัจจุบัน ได้แก่ 2.1) ขอบเขตนิยามของสินค้าเป้าหมาย 2.2) จังหวัดมีการผลิตสินค้าเป้าหมายหรือไม่ 2.3) มีจำนวนผู้ประกอบการเท่าไร 2.4) ผู้ประกอบการรายใหญ่ของจังหวัดคือใครอยู่ส่วนไหนของจังหวัด ข้อ 2

26 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) ลักษณะพื้นฐานของสินค้าเป้าหมาย ขอบเขตนิยามของสินค้าเป้าหมาย และสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง นิยามสินค้าของตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต ขนาด 180 กิจกรรม แหล่งข้อมูล สาเหตุที่ต้องทราบข้อมูล ตัวอย่าง บริการทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง เครื่องใช้ไฟฟ้า การแปรรูปและถนอมอาหาร ค่าขนส่ง เคมีภัณฑ์ ฯลฯ 1. กิจกรรมการผลิตหรือสินค้าเป้าหมายที่จัดทำอาจประกอบด้วยสินค้าย่อยหลายชนิด 2. ถ้าไม่ทราบนิยามสินค้าเป้าหมายที่ชัดเจนอาจทำให้มีปัญหาการกระจุตัวของสินค้าย่อย ซึ่งผลที่จะไม่สะท้อนโครงสร้างของสินค้าอย่างแท้จริง เพื่อให้เข้าใจนิยามต่างๆของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตซึ่งต้องทำการสอบถามในข้อง3และ4

27 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
รหัส DEMAND กิจกรรม รหัส IO 180 D001 ข้าวเปลือก 001 D002 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 002A D003 มันสำปะหลังสด 004 D004 มังคุด 008A D005 บริการทางการเกษตร 024 D006 สุกร 019 D007 กุ้ง 028A , 029A D008 โรงฆ่าสัตว์ (สุกร) 042A D009 โรงสี 049 D010 ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง 050 D011 ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ 061 D012 การผลิตแป้งและการป่นแป้ง 052 D013 แปรรูปและการถนอมอาหาร 043, D014 อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง D015 ปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืช 085 D016 เคมีภัณฑ์ 084, D017 ปิโตรเลียม ข้อ 2

28 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
รหัส DEMAND กิจกรรม รหัส IO 180 D018 ผลิตภัณฑ์ยาง และพลาสติก D019 โลหะและผลิตภัณฑ์จากโลหะ D020 เครื่องจักรเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ D021 สินค้าอื่นๆ 002B ,003, ,008B, , , ,028B,029B, ,042B ,044, ,051, , , , , D022 ไฟฟ้า ก๊าซ และประปา D023 ก่อสร้าง D024 ค้าส่งค้าปลีก D025 โรงแรม ภัตตาคาร และร้านอาหาร D026 ขนส่งและการสื่อสาร D027 บริการอื่นๆ ข้อ 2

29 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) ลักษณะพื้นฐานของสินค้าเป้าหมาย จังหวัดมีการผลิต สินค้าเป้าหมายหรือไม่ สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สำนักงานพาณิชย์จังหวัด สำนักงานสถิติจังหวัด แหล่งข้อมูล เพื่อใช้กำหนดเป้าหมายของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่ต้องดำเนินการสำรวจ สาเหตุที่ต้องทราบข้อมูล มีการผลิต ไม่มีการผลิต ดำเนินการสำรวจทั้งสินค้าเป้าหมายและสินค้าที่เกี่ยวข้อง ไม่มีการบริโภค มีการบริโภค ไม่ทำการสำรวจ ดำเนินการสำรวจจากสินค้าที่เกี่ยวข้อง และพ่อค้าคนกลาง

30 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) ลักษณะพื้นฐานของสินค้าเป้าหมาย จำนวนผู้ประกอบการ สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สำนักงานพาณิชย์จังหวัด สำนักงานสถิติจังหวัด แหล่งข้อมูล สาเหตุที่ต้องทราบข้อมูล กำหนดจำนวนตัวอย่างในการสำรวจ และการกระจายตัวอย่าง ใช้คำนวณอุปสงค์สินค้าเพื่อการลงทุน ใช้คำนวณมูลค่าผลผลิตและมูลค่าเพิ่ม

31 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) ลักษณะพื้นฐานของสินค้าเป้าหมาย ตำแหน่งที่ตั้งของ ผู้ประกอบการรายใหญ่ แหล่งข้อมูล สาเหตุที่ต้องทราบข้อมูล สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สำนักงานพาณิชย์จังหวัด สำนักงานสถิติจังหวัด การกำหนดตัวอย่างการสำรวจมักติดปัญหาเรื่องงบประมาณและกำลังคนในการดำเนินงาน ปรับลดตัวอย่างให้เหมาะสมกับงบประมาณและกำลังคน สิ่งที่ต้องการคือ โครงสร้างการใช้ปัจจัยการผลิต และอุปสงค์ซึ่งอยู่ในรูปมูลค่า สำรวจผู้ประกอบการขนาดใหญ่เพื่อเป็นตัวแทนของจังหวัด

32 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
การกำหนดขนาดของกิจกรรมการผลิต การผลิต : วิสาหกิจขนาดใหญ่มากกว่า 200 คน วิสาหกิจขนาดกลางไม่เกิน  200 คน วิสาหกิจขนาดเล็กไม่เกิน 50 คน การบริการ : วิสาหกิจขนาดใหญ่มากกว่า 200 คน ค้าส่ง : วิสาหกิจขนาดใหญ่มากกว่า 50 คน วิสาหกิจขนาดกลางไม่เกิน  50 คน วิสาหกิจขนาดเล็กไม่เกิน 25 คน ค้าปลีก : วิสาหกิจขนาดใหญ่มากกว่า 30 คน วิสาหกิจขนาดกลางไม่เกิน  30 คน วิสาหกิจขนาดเล็กไม่เกิน 15 คน หมายเหตุ : ในกรณีจังหวัดมีแต่ผู้ประกอบการขนาดกลางหรือขนาดเล็กทั้งหมด ให้สำรวจจากผู้ประกอบการที่มีขนาดกิจการใหญ่เมื่อเทียบกับกิจการอื่นๆ ในจังหวัด ข้อ 2

33 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย ข้อมูลสถิติต่างๆ ที่ผู้จัดทำอุปสงค์ต้องทำการเก็บรวบรวมเพื่อนำไปใช้ในการคำนวณอุปสงค์สินค้าเป้าหมายร่วมกับข้อมูลที่ได้จากการสำรวจภาคสนามมีดังนี้ 1. ข้อมูลมูลค่าการผลิตของสินค้าเป้าหมาย 2. ข้อมูลมูลค่าค่าใช้จ่ายขั้นกลางของสินค้าเป้าหมาย 3. ข้อมูลมูลค่าเพิ่มของสินค้าเป้าหมาย 4. ราคาสินค้าของสินค้าเป้าหมาย 5. มูลค่าการบริโภคของครัวเรือนในจังหวัด 6. จำนวนครัวเรือนหรือประชากรในจังหวัด 7. มูลค่าค่าใช้จ่ายของหน่วยงานราชการในจังหวัด 8. มูลค่าการลงทุนในจังหวัด 9. มูลค่าการส่งออกสินค้าไปต่างจังหวัดและต่างประเทศ 10. มูลค่าการนำเข้าสินค้าจากต่างจังหวัด และต่างประเทศ สถิติต่างๆเป็นตัวกำหนดว่าปีที่จะจัดทำอุปสงค์เป็นปีใด ข้อ 2

34 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล ข้อมูลมูลค่าการผลิต ของสินค้าเป้าหมาย (GO) GPP 3 ของหน่วยงาน ราชการในจังหวัด แหล่งข้อมูล 1. ใช้ประกอบการคำนวณอุปสงค์ต่อวัตถุดิบ 2. ใช้คำนวณอุปสงค์ต่อสินค้าส่งออก สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล ข้อมูลมูลค่าค่าใช้จ่ายขั้นกลาง ของสินค้าเป้าหมาย (IC) GPP 3 ของหน่วยงาน ราชการในจังหวัด แหล่งข้อมูล ใช้ประกอบการคำนวณ อุปสงค์ต่อวัตถุดิบ

35 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล ข้อมูลมูลค่าเพิ่ม ของสินค้าเป้าหมาย (VA) GPP 3 ของหน่วยงาน ราชการในจังหวัด แหล่งข้อมูล ใช้ประกอบการคำนวณ อุปสงค์ต่อวัตถุดิบ ข้อ 2

36 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย ราคาสินค้าของสินค้าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล กรมการค้าภายใน สำนักงานสถิติจังหวัด สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หน่วยงานอื่นๆ ในจังหวัด การจัดทำอุปสงค์ตามแนวทางตาราง IO จะได้ข้อมูลอุปสงค์เป็นมูลค่า นำราคาสินค้ามาใช้คำนวณปริมาณของ อุปสงค์สินค้าต่างๆ ปริมาณอุปสงค์คำนวณจากมูลค่าหารด้วยราคา

37 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล มูลค่าการบริโภคของครัวเรือน สำนักงานสถิติจังหวัด แหล่งข้อมูล 1. ใช้ประกอบการคำนวณอุปสงค์ของครัวเรือนในจังหวัด สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล จำนวนครัวเรือน/จำนวนประชากร สำนักงานสถิติจังหวัด สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แหล่งข้อมูล ข้อมูลมูลค่าการบริโภคของสำนักงานสถิตส่วนมากเป็นมูลค่าการบริโภคเฉลี่ยต่อครัวเรือน ข้อ 2 จึงต้องนำจำนวนครัวเรือนมาคำนวณเพื่อหามูลค่าการบริโภครวมของจังหวัด

38 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล ค่าใช้จ่ายของหน่วยงานราชการในจังหวัด 1. GFMIS แหล่งข้อมูล ใช้ประกอบการคำนวณ อุปสงค์ของภาครัฐ 2. คลังจังหวัด 3. กรมบัญชีกลาง ข้อ 2

39 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย มูลค่าการลงทุนในจังหวัด สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล ใช้ประกอบการคำนวณ อุปสงค์สินค้าเพื่อ การลงทุน ไม่มีข้อมูลในจังหวัด มีข้อมูลในจังหวัด ข้อ 2 คำนวณจากแบบสอบถาม คำนวณจากข้อมูลของประเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สำนักงานพาณิชย์จังหวัด หน่วยงานอื่นๆ

40 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล มูลค่าการส่งออกสินค้าไปต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ ข้อมูลจากแบบสอบถาม ข้อมูลจากหน่วยงานภายในจังหวัด (ถ้ามี) แหล่งข้อมูล ใช้ประกอบการคำนวณ อุปสงค์ต่อสินค้าส่งออก สาเหตุที่ต้องจัดเก็บข้อมูล มูลค่าการนำเข้าสินค้าจากต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ ข้อมูลจากแบบสอบถาม ข้อมูลจากหน่วยงานภายในจังหวัด (ถ้ามี) แหล่งข้อมูล ใช้ประกอบการคำนวณ อุปสงค์ต่อสินค้านำเข้า ข้อ 2

41 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย สรุปรายการข้อมูลที่ใช้ตรวจความถูกต้องของข้อมูลแบบสอบถามที่ได้ดำเนินการจัดเก็บ ได้แก่ โครงสร้างการใช้ปัจจัยการผลิต โครงสร้างการกระจายผลผลิต นิยามของสินค้าเป้าหมาย ตำแหน่งที่ตั้งของผู้ประกอบการายใหญ่

42 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) ข้อมูลสถิติต่างๆ ของสินค้าเป้าหมาย สรุปรายการข้อมูลที่ใช้ประกอบการคำนวณอุปสงค์สินค้าได้แก่ จำนวนผู้ประกอบการ มูลค่าการผลิตสินค้าเป้าหมาย (รหัส IO 210) มูลค่าค่าใช้จ่ายขั้นกลางของสินค้าเป้าหมาย (รหัส IO 190) มูลค่าเพิ่มสินค้าเป้าหมาย (รหัส IO 209) ราคาของสินค้าเป้าหมาย มูลค่าการบริโภคของครัวเรือนในจังหวัด (รหัส IO 301) จำนวนครัวเรือน หรือจำนวนประชากร มูลค่าค่าใช้จ่ายของหน่วยงานราชการในจังหวัด (รหัส IO 302) มูลค่าการลงทุนในจังหวัด (รหัส IO 303) มูลค่าการส่งออกไปต่างจังหวัด หรือต่างประเทศ (รหัส IO 305 และ 306) มูลค่าการนำเข้าจากต่างจังหวัด หรือต่างประเทศ (รหัส IO 401 และ 404)

43 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
4) วิถีตลาดของสินค้าเป้าหมาย ข้อมูลวิถีตลาดของสินค้าเป้ามายจะเป็นข้อมูลที่ผู้จัดทำอุปสงค์ใช้ตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากการสำรวจภาคสนามว่ามีความถูกต้องมากน้อยแค่ไหน ซึ่งตัวอย่างการจัดทำวิถีตลาดในแต่ละสินค้ามีดังนี้

44 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
4) วิถีตลาดของสินค้าเป้าหมาย ผู้บริโภค {40%} วิถีตลาดสินค้าเป้าหมายข้าวเปลือก

45 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
4) วิถีตลาดของสินค้าเป้าหมาย โรงงานแปรรูป อาหารสัตว์ในจังหวัด {72%} การส่งออก {5%} 10% วิถีตลาดสินค้าเป้าหมายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

46 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
4) วิถีตลาดของสินค้าเป้าหมาย ผู้บริโภค {37%} วิถีตลาดสินค้าเป้าหมายมันสำปะหลัง

47 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
4) วิถีตลาดของสินค้าเป้าหมาย วิถีตลาดสินค้าเป้าหมายมังคุด

48 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
4) วิถีตลาดของสินค้าเป้าหมาย วิถีตลาดสินค้าเป้าหมายสุกร

49 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
4) วิถีตลาดของสินค้าเป้าหมาย พ่อค้าปลีก ในจังหวัด {75%} 75% ตลาดกลางกุ้ง (สมุทรสาคร 80% กรุงเทพ 20%) {รวม 100%} วิถีตลาดสินค้าเป้าหมายกุ้ง

50 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิ เพื่อจัดทำอุปสงค์จังหวัด

51 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางในการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อคำนวณอุปสงค์ เป็นการกำหนดแนวทางในการดำเนินการเก็บข้อมูลจากการสำรวจภาคสนาม ซึ่งสามารถแบ่งรายละเอียดเป็น 3 ส่วนหลักคือ แนวทางและกรอบการสำรวจภาคสนาม แบบสอบถามและแนวทางในการกรอกข้อมูลภาคสนาม การกำหนดตัวอย่างการสำรวจภาคสนาม ข้อ 2

52 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางและกรอบการสำรวจภาคสนาม แนวทางหรือขั้นตอนต่างๆ ในการสำรวจภาคสนาม ประกอบด้วย 6 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 กำหนดสินค้าที่ต้องการสำรวจ ขั้นตอนที่ 2 จัดทำแบบสอบถามในการสำรวจภาคสนาม ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดกรอบตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 4 การอบรมแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินงานสำรวจภาคสนาม ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถาม

53 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางและกรอบการสำรวจภาคสนาม ขั้นตอนที่ 1 กำหนดสินค้าที่ต้องการสำรวจ ข้อ 2 สินค้า/บริการที่ต้องการสำรวจ สินค้าที่มีมูลค่าการผลิตและบริการมากในจังหวัด สินค้าและบริการที่สร้างรายได้ให้จังหวัด สินค้าและบริการที่สำคัญของจังหวัด สินค้าและบริการที่เกี่ยวเนื่อง แม้มีการกำหนดสินค้าเป้าหมายแต่การสำรวจยังคงต้องครอบคลุมทุกสินค้าและบริการที่มีในจังหวัด แต่สินค้าที่ไม่มีความสำคัญอาจกำหนดให้รวมกันเป็นสินค้าอื่นๆ

54 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
รหัส DEMAND กิจกรรม รหัส IO 180 D001 ข้าวเปลือก 001 D002 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 002A D003 มันสำปะหลังสด 004 D004 มังคุด 008A D005 บริการทางการเกษตร 024 D006 สุกร 019 D007 กุ้ง 028A , 029A D008 โรงฆ่าสัตว์ (สุกร) 042A D009 โรงสี 049 D010 ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง 050 D011 ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ 061 D012 การผลิตแป้งและการป่นแป้ง 052 D013 แปรรูปและการถนอมอาหาร 043, D014 อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง D015 ปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืช 085 D016 เคมีภัณฑ์ 084, D017 ปิโตรเลียม D018 ผลิตภัณฑ์ยาง และพลาสติก D019 โลหะและผลิตภัณฑ์จากโลหะ D020 เครื่องจักรเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ D021 สินค้าอื่นๆ 002B , 003, ,008B, , , ,028B,029B, ,042B,044, ,051, , , , , D022 ไฟฟ้า ก๊าซ และประปา D023 ก่อสร้าง D024 ค้าส่งค้าปลีก D025 โรงแรม ภัตตาคาร และร้านอาหาร D026 ขนส่งและการสื่อสาร D027 บริการอื่นๆ การกำหนดกิจกรรมต้องครอบคลุมสินค้าทั้งจังหวัด และการกำหนดสินค้าต้องกำหนดเป็นสินค้าที่เป็นเป้าหมาย สินค้าที่เกี่ยวข้องทั้งเป็นวัตถุดิบสำคัญและกิจรรมที่ใช้สินค้าเป้าหมายเป็นวัตถุดิบ ข้อ 2

55 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางและกรอบการสำรวจภาคสนาม ขั้นตอนที่ 2 จัดทำแบบสอบถามในการสำรวจภาคสนาม ข้อ 2 แบบสอบถามในการสำรวจภาคสนาม ทดสอบแบบสอบถาม สอดคล้องกับสินค้าที่ต้องการสำรวจ ออกแบบสอบถามให้ใช้ได้กับทุกสินค้า ออกแบบสอบถามให้ใช้กับเฉพาะสินค้า

56 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางและกรอบการสำรวจภาคสนาม ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดกรอบตัวอย่าง การกำหนดกรอบตัวอย่างในการสำรวจเป็นการกำหนดจำนวนตัวอย่างที่จะดำเนินการสำรวจในแต่ละสินค้าเป้าหมายเป็นเท่าใด ซึ่งสินค้าใดจะมีการสำรวจมากหรือน้อย มักขึ้นกับจำนวนประชากร หรือจำนวนผู้ประกอบการในสินค้าเป้าหมายนั้น และค่าความผิดพลาดของการสำรวจที่ยอมรับได้ ขั้นตอนที่ 4 การอบรมแบบสอบถาม การอบรมแบบสอบถามเป็นการชี้แจ้งกรอบการสำรวจให้แก่เจ้าหน้าที่ภาคสนาม ว่าต้องดำเนินการสำรวจสินค้าเป้าหมายใดบ้าง และรายละเอียดคำถามต่างๆ ในแบบสอบถามมีอะไรบ้าง เพื่อให้ผู้ดำเนินการสำรวจเข้าใจแนวทางในการสำรวจตรงกัน ข้อ 2

57 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางและกรอบการสำรวจภาคสนาม ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินงานสำรวจภาคสนาม ขั้นตอนนี้เป็นการดำเนินงานสำรวจภาคสนามในสินค้าเป้าหมายต่างๆ โดยในกรณีสินค้าเป้าหมายมีจำนวนธุรกิจมาก ควรพยายามกระจายสำรวจตามอำเภอต่างๆ ไม่ควรกระจุกถามเฉพาะอำเภอใดอำเภอหนึ่ง ซึ่งอาจส่งผลให้ผลที่ได้สะท้อนภาพของจังหวัดได้ไม่ดีนัก แต่ในกรณีที่มีจำนวนธุรกิจเพียงไม่กี่รายในจังหวัด ให้พยายามสำรวจจากธุรกิจที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจังหวัดก่อนเพื่อเป็นตัวแทนของจังหวัด ข้อ 2

58 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางและกรอบการสำรวจภาคสนาม ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถาม การตรวจแบบสอบถาม ความครบถ้วนของแบบ ความถูกต้องของข้อมูล ครบ ไม่ครบ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง นำกลับไปแก้ไข

59 แนวทางการจัดทำอุปสงค์สินค้าและสำรวจข้อมูลภาคสนาม 75 จังหวัด
เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก ใต้ จัดทำแบบสำรวจ ภาคสนาม กำหนดสินค้า ที่ต้องการ สำรวจ ทดสอบแบบสำรวจ ปรับปรุงแบบสอบถาม อบรมเจ้าหน้าที่จังหวัด สำรวจข้อมูลภาคสนาม กำหนดจำนวนตัวอย่าง การอบรมแบบสอบถาม แบบสอบถาม ที่สมบูรณ์ บันทึกข้อมูล และจัดทำอุปสงค์ ตรวจสอบความถูกต้อง ส่งแบบสอบถามคืน คือ การดำเนินงานของพาณิชย์จังหวัด คือ การดำเนินงานของสำนักบริหารงานพาณิชย์ภูมิภาค คือ การดำเนินงานของที่ปรึกษา รับส่งติดต่อ และติดตาม แบบ สอบถาม แก้ไขข้อมูลแบบสอบถาม กำหนดกรอบตัวอย่าง สำหรับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจภาคสนามสามารถแบ่งเป็น 3 กลุ่มดังนี้ ข้อ 2

60 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
แนวทางและกรอบการสำรวจภาคสนาม กรอบการสำรวจภาคสนาม การสำรวจเต็มรูปแบบ การสำรวจประจำปี 2554 สำรวจตามการกำหนดสินค้าที่ต้องการสำรวจ สำรวจ 6 สินค้าเป้าหมาย และสินค้าที่เกี่ยวข้อง ข้อ 2

61 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
รหัส DEMAND กิจกรรม รหัส IO 180 D001 ข้าวเปลือก 001 D002 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 002A D003 มันสำปะหลังสด 004 D004 มังคุด 008A D005 บริการทางการเกษตร 024 D006 สุกร 019 D007 กุ้ง 028A , 029A D008 โรงฆ่าสัตว์ (สุกร) 042A D009 โรงสี 049 D010 ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง 050 D011 ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ 061 D012 การผลิตแป้งและการป่นแป้ง 052 D013 แปรรูปและการถนอมอาหาร 043, D014 อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง D015 ปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืช 085 D016 เคมีภัณฑ์ 084, D017 ปิโตรเลียม D018 ผลิตภัณฑ์ยาง และพลาสติก D019 โลหะและผลิตภัณฑ์จากโลหะ D020 เครื่องจักรเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ D021 สินค้าอื่นๆ 002B , 003, ,008B, , , ,028B,029B, ,042B,044, ,051, , , , , D022 ไฟฟ้า ก๊าซ และประปา D023 ก่อสร้าง D024 ค้าส่งค้าปลีก D025 โรงแรม ภัตตาคาร และร้านอาหาร D026 ขนส่งและการสื่อสาร D027 บริการอื่นๆ ข้อ 2

62 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) แนวทางในการกรอกข้อมูลภาคสนาม ประเภทของแบบสอบถาม แบบสอบถามแบ่งเป็น 9 ประเภท ดังนี้ แบบสอบถามข้าวเปลือก แบบสอบถามข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ แบบสอบถามมันสำปะหลัง แบบสอบถามมังคุด แบบสอบถามสุกร แบบสอบถามกุ้ง แบบสอบถามสินค้าเกษตร แบบสอบถามสินค้าอุตสาหกรรม แบบสอบถามบริการ ข้อ 2

63 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) แนวทางในการกรอกข้อมูลภาคสนาม ส่วนประกอบของแบบสอบถาม ส่วนประกอบของแบบสอบถามแบ่งเป็น 9 ส่วนดังนี้ ข้อมูลพื้นฐาน มูลค่าการผลิตต่อปี ค่าใช่จ่ายเกี่ยวกับวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ รายได้ของกิจกรรมการผลิต การขายหรือการจำหน่วยสินค้า ข้อมูลเกี่ยวกับการลงทุน มูลค่าการบริโภคของครัวเรือนต่อปี คำถามข้อที่ 1 -8 สอบถามค่าใช้จ่ายและรายได้ของธุรกิจ คำถามข้อที่ 9 สอบถามค่าใช้จ่ายของครัวเรือนผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อ 2

64 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) แนวทางในการกรอกข้อมูลภาคสนาม แนวทางการกรอกข้อมูลในแบบสอบถาม ข้อ 2

65 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) แนวทางในการกรอกข้อมูลภาคสนาม แนวทางการกรอกข้อมูลในแบบสอบถาม ข้อ 2

66 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
2) แนวทางในการกรอกข้อมูลภาคสนาม การนำข้อมูลจากแบบสอบถามไปใช้ หัวข้อการสำรวจ การนำไปใช้ประโยชน์ หัวข้อที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน - ใช้อ้างอิงตัวตนของธุรกิจที่ดำเนินการสำรวจ หัวข้อที่ 2 มูลค่าการผลิตต่อปี - ใช้คำนวณมูลค่าผลผลิตต่อปี ในกรณีไม่ได้ข้อมูลจาก GPP3 (I-O รหัส 210) หัวข้อที่ 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับวัตถุดิบที่ใช้ใน การผลิต หัวข้อที่ 4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบริหารจัดการ - ใช้คำนวณอุปสงค์ต่อวัตถุดิบของผู้ผลิต (I-O รหัส 190) - ใช้คำนวณอุปสงค์ต่อสินค้านำเข้า (I-O รหัส 401 ,404) - ใช้คำนวณมูลค่าเพิ่มในกรณีไม่ได้ข้อมูลจาก GPP3 (I-Oรหัส 209) หัวข้อที่ 5 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ - ใช้ตรวจสอบสินค้าคงเหลือซึ่งเป็นส่วนต่างระหว่างอุปสงค์และ อุปทาน (I-O รหัส 304) หัวข้อที่ 6 รายได้ของกิจกรรมการผลิต - ใช้คำนวณข้อมูลอุปสงค์รวม (I-O รหัส 310) - ใช้ในการคำนวณภาษีทางอ้อมสุทธิ (I-O รหัส 204) หัวข้อที่ 7 การขายหรือการจำหน่ายสินค้า - ใช้ตรวจสอบข้อมูลอุปสงค์ต่อวัตถุดิบของผู้ผลิต (I-Oรหัส 190) - ใช้คำนวณอุปสงค์ของภาครัฐ (I-O รหัส 302) - ใช้คำนวณอุปสงค์ต่อสินค้าส่งออก (I-O รหัส 305 , 306) หัวข้อที่ 8 ข้อมูลเกี่ยวกับการลงทุน - ใช้คำนวณอุปสงค์ต่อสินค้าเพื่อการลงทุน (I-O รหัส303) หัวข้อที่ 9 มูลค่าการบริโภคของครัวเรือนต่อปี - ใช้คำนวณอุปสงค์ต่อสินค้าของครัวเรือน (I-O รหัส 301) ข้อ 2

67 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) การกำหนดตัวอย่างการสำรวจภาคสนาม การกำหนดจำนวนตัวอย่างในการสำรวจของการศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการกำหนดจำนวนตัวอย่างสำหรับการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากร (Steven K. Thompson, 2002: 36) มีสูตรดังนี้ ข้อ 2

68 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) การกำหนดตัวอย่างการสำรวจภาคสนาม ตัวอย่างการกำหนดจำนวนตัวอย่างในการสำรวจ สินค้า N สัดส่วนความผิดพลาดที่ยอมรับได้ 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 0.08 0.09 0.10 ข้าวเปลือก 3,711,478 38,022 9,579 4,264 2,399 1,536 1,067 784 600 474 384 ข้าวโพด เลื้ยงสัตว์ 385,214 34,932 9,370 4,222 2,386 1,531 1,064 782 599 มันสำปะหลัง 512,601 35,738 9,427 4,233 2,390 1,532 1,065 783 มังคุด 102,753 27,962 8,783 4,098 2,346 1,514 1,056 778 597 472 383 สุกร 227,688 32,870 9,215 4,190 2,376 1,526 1,062 781 473 กุ้ง 25,000 15,144 6,939 3,646 2,191 1,448 1,023 760 586 465 378 ข้อ 2

69 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) การกำหนดตัวอย่างการสำรวจภาคสนาม จำนวนตัวอย่างการสำรวจข้อมูลภาคสนามทั้งประเทศและแต่ละจังหวัด จำแนกตามสินค้า เป้าหมาย สินค้า จำนวนตัวอย่างทั้งประเทศ (ราย) จำนวนตัวอย่างแต่ละจังหวัด (ราย) ข้าวเปลือก 784 10 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 782 มันสำปะหลังโรงงาน 783 มังคุด 778 สุกร 781 กุ้งทะเล 760 ข้อ 2

70 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) การกำหนดตัวอย่างการสำรวจภาคสนาม จำนวนตัวอย่างการสำรวจข้อมูลภาคสนามทั้งประเทศและแต่ละจังหวัด จำแนกตามสินค้า เป้าหมาย กลุ่มสินค้า กิจกรรมที่สำรวจข้อมูลภาคสนาม จำนวนตัวอย่างแต่ละจังหวัด (ราย) แบบสอบถามแบบที่ 1) ข้าวเปลือก 1.1) ชาวนา 4 แบบที่ 1 1.2) โรงสีข้าว แบบที่ 8 1.3) พ่อค้าคนกลางข้าวเปลือก 1 แบบที่ 9 1.4) พ่อค้าคนกลางข้าวสาร - พ่อค้าส่ง - พ่อค้าปลีก - ผู้ส่งออก 2) ข้าวโพด 2.1) เกษตรกรปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5 แบบที่ 2   เลี้ยงสัตว์ 2.2) เกษตรกรที่ทำปศุสัตว์ (ใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) 2 แบบที่ 7 2.3) โรงงานผลิตอาหารสัตว์ (ใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) 2.4) พ่อค้าคนกลาง ข้อ 2

71 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) การกำหนดตัวอย่างการสำรวจภาคสนาม จำนวนตัวอย่างการสำรวจข้อมูลภาคสนามทั้งประเทศและแต่ละจังหวัด จำแนกตามสินค้า เป้าหมาย กลุ่มสินค้า กิจกรรมที่สำรวจข้อมูลภาคสนาม จำนวนตัวอย่างแต่ละจังหวัด (ราย) แบบสอบถามแบบที่ 3) มันสำปะหลัง 3.1) เกษตรกรปลูกมันสำปะหลัง 4 แบบที่ 3 3.2) โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง/ ลานมัน เช่น แป้งมันสำปะหลัง แป้งสาคู มันเส้น มันอัดเม็ด ฯลฯ 2 แบบที่ 8 3.3) โรงงานที่ใช้ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง เช่น โรงงานผงชูรส บะหมี่สำเร็จรูป เป็นต้น 1 3.4) โรงงานผลิตอาหารสัตว์ 3.5) พ่อค้าคนกลางมันสด / ลานมัน และผู้ส่งออก 3.6) พ่อค้าคนกลางผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง และผู้ส่งออก แบบที่ 9 4) มังคุด 4.1) เกษตรกรปลูกมังคุด 5 แบบที่ 4 4.2) โรงงานแปรรูปมังคุด 4.3) พ่อค้าคนกลาง - พ่อค้าส่ง - พ่อค้าปลีก - ผู้ส่งออก 3 ข้อ 2

72 แนวทางการจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิเพื่อการคำนวณอุปสงค์
3) การกำหนดตัวอย่างการสำรวจภาคสนาม จำนวนตัวอย่างการสำรวจข้อมูลภาคสนามทั้งประเทศและแต่ละจังหวัด จำแนกตามสินค้า เป้าหมาย กลุ่มสินค้า กิจกรรมที่สำรวจข้อมูลภาคสนาม จำนวนตัวอย่างแต่ละจังหวัด (ราย) แบบสอบถามแบบที่ 5) สุกร 5.1) เกษตรกรเลี้ยงสุกร 5.2) โรงฆ่าสัตว์ 5.3) ร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม 5.4) โรงงานอาหารแปรรูป 5.5) พ่อค้าคนกลางหมูและเนื้อหมู - พ่อค้าส่ง - พ่อค้าปลีก - ผู้ส่งออก 4 2 1 แบบที่ 5 แบบที่ 8 แบบที่ 9 6) กุ้ง 6.1) เกษตรกรเพาะเลี้ยงกุ้ง 5 แบบที่ 6 6.2) โรงงานแปรรูปกุ้ง (แช่เย็น/แช่แข็ง) 6.3) ร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม 6.4) โรงงานผลิตอาหารสัตว์ 6.5) พ่อค้าคนกลาง ข้อ 2

73 E-Mail : demandthai@gmail.com
ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โทร :


ดาวน์โหลด ppt การอบรม หลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานภายใต้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google