งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ?"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ?
บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน แล้วไง ? โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมเซ็นธารา ดวงตะวัน เชียงใหม่

2 สถานการณ์โรคขาดสารไอโอดีน ณ ตุลาคม 2553
สถานการณ์โรคขาดสารไอโอดีน ณ ตุลาคม 2553 ตัวชี้วัด เป้าหมาย สถานการณ์ 1. ความครอบคลุมการใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนของครัวเรือน ≥ ร้อยละ 90 ร้อยละ 77.4 2. ระดับไอโอดีน ในปัสสาวะ หญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 ไมโครกรัมต่อลิตร ≤ ร้อยละ 50 ร้อยละ 52.5 - ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ (ไมโครกรัมต่อลิตร) 150 – 249 ไมโครกรัมต่อลิตร ไมโครกรัมต่อลิตร 3. ทารกแรกเกิดที่มีระดับฮอร์โมนกระตุ้นต่อมธัยรอยด์( TSH)มากกว่า 11.2 มิลลิยูนิตต่อลิตร ในซีรั่ม < ร้อยละ 3 ร้อยละ 13.3 ( ปี 2552 ) 4. ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน 76,000 แห่ง 34 แห่ง

3 การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ. 2553 - 2555
การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า เกลือบริโภค / น้ำปลา / สารปรุงรส เกลืออุตสาหกรรมอาหาร / อาหารสัตว์ คุณภาพโรงงาน / เกลือ ทะเบียน อย. เกลือ ระบบเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล ไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ / เด็กเล็ก TSH ทารกแรกเกิด คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน  แหล่งผลิต  ร้านค้า  ครัวเรือน พัฒนาการเด็ก การควบคุมป้องกัน วิจัย และปฏิบัติการ เฝ้าระวัง Sentinel ความสัมพันธ์ไอโอดีน กับพัฒนาการเด็ก มาตรการเสริม คู่มือปฏิบัติงาน จังหวัด / อปท. / อสม. ภาวะขาดสารไอโอดีน คุณภาพชีวิต ทุกกลุ่มวัย การบริหารจัดการ และสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย หน่วยงานรัฐ ภูมิภาค จังหวัด /สสจ. / อสจ. / ปศจ. ฯลฯ องค์กรปกครองท้องถิ่น ชมรมผู้ประกอบการเกลือ ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน สร้างกระแสสังคม สื่อสารให้ผู้บริหาร สื่อสารความเสี่ยง สื่อสารสาธารณะ ภาคี เครือข่ายสื่อ

4 นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า (Universal Salt Iodization : USI) การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์ การเฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และ ทารกแรกเกิด

5 นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน (ต่อ)
4. การสุ่มตรวจคุณภาพเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน - แหล่งผลิต/นำเข้า - ร้านค้า - ร้านอาหาร - ครัวเรือน - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน 5. การพัฒนาชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน

6 กรมอนามัยดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยใช้ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
กรมอนามัยดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยใช้ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. การผลิต และกระจายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ โดยการบริหารจัดการที่ต่อเนื่องและยั่งยืน 2. การจัดทำระบบการเฝ้าระวัง ติดตามและประเมินผลโครงการ 3. การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม 4. การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ และการตลาดเชิงสังคม เพื่อการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง 5. การศึกษา วิจัย 6. การใช้มาตรการเสริมในระยะเฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่น

7 นโยบายเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิต และกระจายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ โดยการบริหารจัดการที่ต่อเนื่องและยั่งยืน นโยบายเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ออกประกาศ กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 4 ฉบับ ดังนี้ 1.1 เรื่องเกลือบริโภค กำหนดให้เติมไอโอดีน ระหว่าง มิลลิกรัมต่อเกลือ 1 กิโลกรัม 1.2 เรื่องน้ำปลา (ฉบับที่ 2) 1.3 เรื่องน้ำเกลือปรุงอาหาร 1.4 เรื่องผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีน ของถั่วเหลือง กำหนดให้ใช้เกลือบริโภค หรือให้เติมไอโอดีน ไม่น้อยกว่า 2 และไม่เกิน 3 มิลลิกรัมต่อลิตร

8 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดทำระบบการเฝ้าระวังติดตามและประเมินผลโครงการ
ระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีนในประชาชนไทย การเฝ้าระวังในคน การเฝ้าระวังในเกลือ

9 การเฝ้าระวังในเกลือ การควบคุมคุณภาพภายใน (โดยผู้ผลิต)
จุดผลิตเกลือเสริมไอโอดีน คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน การควบคุมคุณภาพ โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ ร้านค้า ควบคุมโดย เจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคุมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ,ผู้บริโภค, อสม., อย.น้อย ครัวเรือน

10 ระบบเฝ้าระวังคุณภาพเกลือ
กระจาย ซื้อขาย โรงงานเกลือ ร้านค้าเกลือ เกลือใน ครัวเรือน ระบบเฝ้าระวังคุณภาพเกลือ Urine Iodine ระบบเฝ้าระวังสถานการณ์ไอโอดีนในกลุ่มประชากรกลุ่มต่างๆ Urine Iodine TSH ผู้สูงอายุ 60 ปี หญิงตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด เด็ก 3-6 ปี

11 การเก็บข้อมูลในแต่ละจังหวัด
คุณภาพเกลือไอโอดีน ประชากรกลุ่มเสี่ยง พฤติกรรมผู้บริโภค เมื่อเราได้รายชื่อจังหวัดแล้วนะครับ แต่ละจังหวัดจะต้องเก็บข้อมูลอะไรบ้าง โดยจะแบ่งข้อมูลเป็น 3 อย่างด้วยกัน อย่างแรก เป็นข้อมูลคุณภาพเกลือไอโอดีน อย่างที่สอง เป็นข้อมูลประชากรกลุ่มเสี่ยง และสาม เป็นข้อมูลพฤติกรรมผู้บริโภค

12 1.1 ความครอบคลุมการใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนคุณภาพ ของครัวเรือน ( สำนักโภชนาการ กรมอนามัย)
ข้อมูล : รณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

13 1.2 ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2543 - 2553
1.2 ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ ไมโครกรัม / ลิตร พ.ศ. ค่าปกติ = 100 ไมโครกรัม/ลิตร 2550 – = 150 ไมโครกรัม/ลิตร ข้อมูลจากสำนักโภชนาการ กรมอนามัย

14 1.3 ร้อยละระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 µg/l
ปี ( สำนักโภชนาการ กรมอนามัย) หมายเหตุ องค์การอนามัยโลกกำหนด ก่อนพ.ศ พื้นที่ที่มีสัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 100 µg/l เกินกว่าร้อยละ 50 เป็นพื้นที่ขาดสารไอโอดีน ตั้งแต่ พ.ศ พื้นที่ที่มีสัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 150 µg/l เกินกว่าร้อยละ 50

15 แผนที่แสดงค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ 75 จังหวัด ปี 2553

16 มาตรการแก้ไขปัญหาพื้นที่ขาดสารไอโอดีน
ประเมินผลการดำเนินงานการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน ค้นหาสาเหตุ และกำหนดแนวทางการแก้ไข ดูแลกำกับการให้ยาเม็ดเสริมสารอาหารสำคัญที่มีไอโอดีน แก่หญิงตั้งครรภ์ทุกราย จัดทำระบบเฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล อย่างเคร่งครัด รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และสนับสนุน การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน และผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนในพื้นที่

17 การดำเนินงานภาคีเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม การดำเนินงานภาคีเครือข่าย พัฒนาชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ขับเคลื่อนให้เกิดชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน ประชุมภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการเสริมไอโอดีน ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้ - บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป - น้ำปลา - ใส่เกลือเสริมไอโอดีนในขนมขบเคี้ยว จำนวน 37 รายการ - สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยใช้ไอโอดีนเติมลงในอาหารไก่ เพื่อให้ได้ไข่ที่มีไอโอดีน 50 ไมโครกรัม/ฟอง ทดลองทำปลาร้าเสริมไอโอดีน

18 การขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน
เป้าหมาย ปี ทุกชุมชน/หมู่บ้าน ในทุกจังหวัด (ประมาณ 76,000 แห่ง) พัฒนาสู่ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน”

19 ประเมินรับรอง “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน”
ประเมินตนเอง : ภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ ประเมินภายนอก : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 ใช้เกณฑ์การประเมินรับรอง ของกรมอนามัย (ศึกษารายละเอียดได้จากคู่มือการประเมินฯ)

20 ผลการประเมินรับรองชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน
ณ 15 มิถุนายน 2554 จำนวนหมู่บ้านที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาสู่ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” รวมทั้งสิ้น 56,584 แห่ง จำนวนหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรอง “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” รวมทั้งสิ้น 21,871 แห่ง (49 จังหวัด) คิดเป็นร้อยละ ของหมู่บ้าน ที่เข้าร่วมกระบวนการ

21 ผลการประเมินรับรองชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ศูนย์อนามัยที่ 1 - 12
(จำนวนจังหวัดที่รายงาน) จำนวนหมู่บ้าน ที่เข้าร่วมกระบวนการ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” จำนวนหมู่บ้าน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ศอ.1 (4) 2,936 941 ศอ. 2 (4) 2,977 694 ศอ. 3 (1) 914 896 ศอ. 4 (3) 1,635 1,186 ศอ. 5 (4) 9,999 5,397 ศอ. 6 (5) 9,409 2,009

22 (จำนวนจังหวัดที่รายงาน)
ศูนย์อนามัยที่ (จำนวนจังหวัดที่รายงาน) จำนวนหมู่บ้าน ที่เข้าร่วมกระบวนการ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” จำนวนหมู่บ้าน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ศอ.7 (7) 10,565 4,827 ศอ. 8 (2) 2,493 1,163 ศอ. 9 (5) 4,405 356 ศอ. 10 (5) 6,615 1,388 ศอ. 11 (1) 321 174 ศอ. 12 (7) 4,315 2,840 รวม (49 จังหวัด) 56,584 21,871 (38.70%)

23 นวัตกรรมชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน
ตัวอย่าง นวัตกรรมชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ในจังหวัดที่ได้รับถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2554

24 นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.นครราชสีมา
นวัตกรรม : แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน - ศูนย์การเรียนรู้ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน หมอลำไอโอดีน เซียมซีไอโอดีน ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ชุมชนร่วมใจ ประชาชนร่วมมือ มีทูตไอโอดีน ใช้ SLM ขับเคลื่อน

25 นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.มหาสารคาม
นวัตกรรม : แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน - ศูนย์การเรียนรู้ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน กลอนรำไอโอดีน ฮูลาฮูปไอโอดีน ไม้พลองผู้สูงอายุ ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ชุมชนร่วมมือ ประสานใจบูรณาการทุกภาคส่วนโดยใช้ SLM

26 นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.นครพนม
นวัตกรรม : แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูตรอาหารท้องถิ่น เสริมไอโอดีน หมอลำไอโอดีน มาตรการทางสังคม : ร้านค้าจำหน่ายเฉพาะเกลือเสริมไอโอดีน/ เฝ้าระวังรถเร่ ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารให้ความสำคัญ ใช้ SLM งบประมาณสนับสนุนเพียงพอ ติดตามผลโดย ผวจ.ทุกเดือน การสื่อสารหลายช่องทาง การประสานงานดี ทำงานเป็นทีม

27 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ และการตลาดเชิงสังคม เพื่อการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง จัดงานวันไอโอดีนแห่งชาติ 25 มิถุนายนทุกปี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน ผ่านสื่อโทรทัศน์ วิทยุ จัดมหกรรมรวมพลังประเทศไทย“เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” จัดพิมพ์สื่อเผยแพร่

28 ผลงาน : ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ สื่อสารสาธารณะ 43 ครั้ง
สื่อสารสาธารณะ 43 ครั้ง จัดงานมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว ในส่วนกลาง และทุกจังหวัด จัดงานรณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ 1 ครั้ง มีผู้รับสารประมาณ 12,000,000 คน

29 ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ
ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ 1. คู่มือการดำเนินงานชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน จำนวน 1,500 เล่ม 2. คู่มือการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน สำหรับ จนท.สธ จำนวน 7,000 เล่ม 3. การ์ตูน Mr.ไอโอดีนผจญภัย ในเมืองเอ๋อ จำนวน 3,500 เล่ม 4. บทความวิทยุ เรื่องเด็กไทยจะฉลาดเพราะไม่ขาดไอโอดีน จำนวน 3,500 เล่ม

30 ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ (ต่อ)
ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ (ต่อ) 5. แผ่นพับ 6 ตอน 2 หน้า รณรงค์ควบคุมป้องกันโรค ขาดสารไอโอดีน จำนวน 100,000 ฉบับ 6. แฟ้มไอโอดีน สำหรับ การประชุมผู้บริหาร/คณะกรรมการไอโอดีนแห่งชาติ จำนวน 3,500 เล่ม 7. คู่มือทูตไอโอดีน จำนวน 15,000 ชุด (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

31 ตัวอย่างผลงาน : 2.3 การสื่อสารในระดับ Air campaign
1) ถ่ายทอดสด “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ผ่าน MCOT เวลา – น. ครั้งๆละ 2 ชั่วโมง รวม 2 ครั้ง 19 พ.ค.54 อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 25 พ.ค.54 อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 24 มิ.ย.54 วันไอโอดีนแห่งชาติ ณ หัวลำโพง

32 2) ประชาสัมพันธ์ผ่านรายการ บ่ายนี้มีคำตอบ
เวลา – น. ช่อง 9 อสมท. จำนวน 3 ครั้ง 9 มี.ค. 54 : นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน 19 เม.ย. 54 : การขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน จ.อุดรธานี 31 พ.ค. 54 : ความสำเร็จในการควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน จ.น่าน วันที่ 21 มิ.ย. 54 : รณรงค์ “วันไอโอดีนแห่งชาติ”

33 3) Press Tour พื้นที่ที่มีผลงานเด่น จำนวน 2 ครั้ง
19 พ.ค.54 อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 25 พ.ค.54 อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 4) สปอตโทรทัศน์ ความยาว 1 นาที จำนวน 36 ครั้ง ผ่านช่อง 9 อสมท.

34 จังหวัดที่มีร้อยละของชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนมากที่สุด
การรณรงค์ สร้างกระแส “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” สร้างแรงจูงใจในระดับพื้นที่ โดยจัดประกวดจังหวัดที่มีผลงานเด่น ใน 3 ประเด็น ดังนี้ จังหวัดที่มีร้อยละของชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนมากที่สุด จังหวัดที่มีร้อยละของครัวเรือนใช้เกลือเสริมไอโอดีนคุณภาพ มากที่สุด จังหวัดที่มีรูปแบบการสื่อสารเรื่องไอโอดีนอย่างสร้างสรรค์ และต่อเนื่อง (มีนวัตกรรมการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน / บทบาท อสม.ในฐานะทูตไอโอดีนที่เป็นรูปธรรม / เกิดกระบวนการ ทำงานอย่างเป็นระบบในภาพรวมของจังหวัด)

35 ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว
ประเภทที่ 1 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านการขับเคลื่อน “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” รางวัลที่ 1 : จังหวัดนครราชสีมา รางวัลที่ 2 : จังหวัดมหาสารคาม รางวัลที่ 3 : จังหวัดนครพนม

36 ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว (ต่อ)
ประเภทที่ 2 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านความครอบคลุมคุณภาพ เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนในครัวเรือน รางวัลที่ 1 : จังหวัดพังงา รางวัลที่ 2 : จังหวัดนครราชสีมา รางวัลที่ 3 : จังหวัดพัทลุง

37 ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว (ต่อ)
ประเภทที่ 3 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านการสื่อสารสาธารณะ อย่างต่อเนื่องและสร้างสรรค์ รางวัลที่ 1 : จังหวัดเพชรบุรี รางวัลที่ 2 : จังหวัดอุดรธานี รางวัลที่ 3 : จังหวัดอุบลราชธานี

38 มอบโล่ให้กับผู้สนับสนุนการดำเนินงาน
บริษัทกรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตรจำกัด สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าฯ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัทสาครวัฒนา (ทั่งจือฮะ) จำกัด ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคกลาง ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคเหนือ ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคอีสาน

39 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาวิจัย
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาวิจัย การศึกษาวิจัยสำรวจการบริโภคปริมาณโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย ปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์เฉลี่ยของประชากรไทย พ.ศ. 2551 ชนิดของการบริโภค ปริมาณ (กรัม/คน/วัน) อัตราการใช้เครื่องปรุง (ร้อยละของครัวเรือนทั้งหมด) 1. อาหารที่ปรุงประกอบในครัวเรือน 10.0 1.1 ผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรส 8.0 - เกลือ 3.0 91.53 - น้ำปลา 2.6 96.39 - ผงปรุงรส 0.4 61.60 - ซีอิ้วขาว 64.59 - กะปิ 0.3 63.17 - อื่นๆ (ซอสหอยนางรม และซอสปรุงรส) 1.3 1.2 อาหาร 2.0 2. อาหารปรุงสำเร็จ/อาหารว่าง/อาหารนอกบ้าน 0.8 รวม 10.8

40 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ การเสริมไอโอดีนในน้ำดื่ม ดำเนินการในโรงเรียน และหมู่บ้านที่ห่างไกล

41 ยุทธศาสตร์ที่ 6 (ต่อ) การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ
การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์และให้นมลูก 6 เดือน การใช้น้ำปลา ซอส ซีอิ้ว เสริมไอโอดีน การบริโภคไข่ที่มีไอโอดีน ฯลฯ

42 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google