งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety) กิจกรรมตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกรามและสัตว์น้ำจืด

2 ทำไมต้องมีมาตรการอาหารปลอดภัย ?

3 - เพื่อจัดการกระบวนการผลิตทั้งระบบให้เข้าสู่มาตรฐานเดียวกัน
- เพื่อจัดการคุณภาพของสินค้าการเกษตรและอาหารของไทย ที่ส่งออกไปขายต่างประเทศ

4 * ความสำคัญของอาหารปลอดภัย *
* เพื่อการบริโภคอาหารการเกษตรที่ปลอดภัย * * เพื่อสินค้าที่บริโภคในประเทศและส่งออก * ต้องมีคุณภาพตามหลักมาตรฐานสากล

5 มาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
* Safety Level * * GAP *

6 การตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฟาร์ม

7 คุณสมบัติของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
มีบ่อ/กระชังเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อยังชีพ มีฟาร์ม(บ่อ/กระชัง)เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อจำหน่าย

8 เข้าร่วมโครงการแล้วท่านได้อะไร?
* ได้รับการช่วยเหลือทางวิชาการในการรับรองมาตรฐานฟาร์ม * ได้รับการอบรมในโครงการอาหารปลอดภัย * ได้รับการตรวจวิเคราะห์ปัจจัยการผลิตเพื่อหาสารตกค้าง * ได้รับการตรวจวิเคราะห์สัตว์น้ำเพื่อหาสารตกค้างก่อนจำหน่าย * ได้รับใบรับรองมาตรฐานความปลอดภัยในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ * มีส่วนช่วยเหลือประเทศชาติให้สินค้าเกษตรเป็นที่ยอมรับของนานาชาติ

9 เข้าร่วมโครงการต้องเสียค่าใช้จ่ายหรือไม่?
* ท่านไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น * หน่วยรัฐให้บริการฟรี

10 สมัครเข้าร่วมโครงการได้ที่ไหน ?
สมัครกับเจ้าหน้าที่ของกรมประมงที่ออกให้บริการอำนวยความสะดวกในพื้นที่

11 สมัครโดยตรงได้ที่ศูนย์และสถานีประมงในเขตจังหวัดที่ฟาร์มตั้งอยู่
* สมัครโดยตรงได้ที่ศูนย์และสถานีประมงในเขตจังหวัดที่ฟาร์มตั้งอยู่ * รับสมัครตลอดทั้งปี ในวันและเวลาราชการ * สำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดในเขต จ. สุราษฎร์ธานีและระนอง สมัครได้ที่นี่...หรือ...โทร ,

12 เอกสารที่ต้องใช้สมัครเข้าร่วมโครงการ
*เลขทะเบียนฟาร์ม *สำเนาทะเบียนบ้าน *สำเนาบัตรประชาชน *สำเนาโฉนด/นส.3/สปก./สัญญาเช่าที่ดิน ที่ฟาร์มตั้งอยู่

13 มาตรฐานความปลอดภัยด้านอาหารขั้นต่ำ(Safety level)
ต้องผ่านเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ * มีเลขทะเบียนฟาร์ม * ไม่ใช้สารต้องห้ามที่ทางราชการประกาศ * ไม่มียาปฏิชีวนะสารตกค้างในเนื้อสัตว์น้ำ เกินมาตรฐานที่กำหนด (สุ่มตรวจ) * มีใบกำกับการจำหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ำหรือ แบบบันทึกการจัดซื้อลูกพันธุ์สัตว์น้ำ

14 มาตรฐานการปฏิบัติทางประมงที่ดี สำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (GAP)
ต้องผ่านเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ * มีเลขทะเบียนฟาร์ม * ไม่ใช้ยาและสารเคมีต้องห้ามตามประกาศทางราชการ * ไม่มียาปฏิชีวนะและสารตกค้างในเนื้อสัตว์น้ำ เกินมาตรฐานที่กำหนด (ตรวจทุกฟาร์ม) * ปัจจัยการผลิตต้องไม่ปนเปื้อนของยาและสารต้องห้าม ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามประกาศทางราชการ * ต้องมีใบกำกับการจำหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ำ ยกเว้นลูกพันธุ์ ที่ทำการเพาะพันธุ์เองหรือรวบรวมจากแหล่งน้ำธรรมชาติ * มีการจัดสุขลักษณะฟาร์มได้ตามมาตรฐานที่กรมประมงกำหนด

15 ข้อกำหนดของมาตรฐาน GAP
มีดังต่อไปนี้ * ด้านสถานที่ * ด้านการจัดการทั่วไป * ด้านปัจจัยการผลิต * ด้านการจัดการดูแลสุขภาพสัตว์น้ำ * ด้านสุขลักษณะฟาร์ม * ด้านการเก็บเกี่ยวและการขนส่ง * ด้านการบันทึกข้อมูล

16 ขั้นตอนการรับรองฟาร์มตามมาตรฐาน
* เกษตรกรสมัครขอรับการรับรอง * เจ้าหน้าที่ให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานฟาร์ม * เจ้าหน้าที่เข้าตรวจประเมินฟาร์ม * กรมประมงให้การรับรองมาตรฐานฟาร์ม * เจ้าหน้าที่ตรวจติดตามมาตรฐานฟาร์มอย่างต่อเนื่องจนสิ้นอายุใบรับรอง

17 ใบรับรองมาตรฐานฟาร์มใช้ได้ตลอดไปหรือไม่?
* ใบรับรองมาตรฐานฟาร์มจะมีอายุเพียง 2 ปี นับตั้งแต่วันที่ออกใบรับรอง * เมื่อครบกำหนดทางหน่วยงานที่ออกใบรับรองจะเข้าตรวจฟาร์มอีก * หากผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะทำการต่ออายุใบรับรองให้อีกทุก 2 ปี

18 มีการเพิกถอนใบรับรองมาตรฐานฟาร์มหรือไม่ ?
มี...หากพบว่ามีการละเลยไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานฯ ก็จะตักเตือนให้ปรับปรุงฟาร์มให้ได้มาตรฐานตามที่ ได้รับการรับรอง หากยังพบว่าไม่มีการปรับปรุงก็จะ ดำเนินการเพิกถอนใบรับรองต่อไป

19 แผน/ผลการปฏิบัติงาน 2552 รับรองฟาร์ม แผน ผล หมายเหตุ Safety level 66 68 ต่อ50+ใหม่18 GAP 14 ต่อ4+ใหม่10 รอผลตรวจเนื้อ รวม 80

20 แผน/ผลการปฏิบัติงาน 2552 สุราษฎร์ธานี แผน ผล หมายเหตุ Safety level 31 28 ต่อ28 GAP 12 ต่อ2+ใหม่10 รอผลตรวจเนื้อ รวม 43 ระนอง แผน ผล หมายเหตุ Safety level 37 40 ต่อ22+ใหม่18 GAP 2 ต่อ2 รอผลตรวจเนื้อ รวม


ดาวน์โหลด ppt โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google