งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
การอบรมสัมมนาคณะกรรมการกองทุน หลักสูตร Advance FC Course “การวัดผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ” ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551

2 การวัดผลการจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund Investment Performance)

3 วัตถุประสงค์ของการวัดผลการจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาธุรกิจการจัดการกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ สามารถแสดงเปรียบเทียบผลการจัดการของกองทุน สำรองเลี้ยงชีพในมาตรฐานเดียวกันได้

4 ประเภทกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประเภทของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ตามประกาศ ก.ล.ต. กองทุนที่มีนโยบายลงทุนทั่วไป กองทุนที่มีนโยบายลงทุนพิเศษ FIF Specific Fund Index Fund กองทุน ตราสารทุน กองทุน ตราสารหนี้ กองทุนผสม Guaranteed Fund Fund of Fund

5 การคำนวณผลการจัดการกองทุน - รายกองทุน
อัตราผลตอบแทน รายเดือน ( Ri ) UVm i UVm i -1 อัตราผลตอบแทนสะสม [ (1+R1) (1+R2) (1+R3) ….(1+R12) ] - 1

6 การคำนวณอัตราผลตอบแทนรายเดือน
การคำนวณผลการจัดการกองทุน - รายกองทุน UVmi UVmi -1 ตัวอย่าง การคำนวณอัตราผลตอบแทนรายเดือน 31 ธ.ค. ’50 31 ม.ค. ’51 29 ก.พ. ’51 31 มี.ค. ’51 Unit Value “UV” (บาท/หน่วย) R1 = = 0.36% = 0.99% R2 = = % R3 =

7 การคำนวณผลการจัดการกองทุน - รายกองทุน
[ (1+R1) (1+R2) ….(1+R12) ] - 1 ตัวอย่าง การคำนวณอัตราผลตอบแทน สะสม 31 ธ.ค. ’50 31 ม.ค. ’51 29 ก.พ. ’51 31 มี.ค. ’51 R1 = 0.36% R2 = 0.99% R3 = % อัตราผลตอบแทนสะสมตั้งแต่ ม.ค.-มี.ค. ’51 = [ (1+0.36%) (1+0.99%) (1+ (-0.18%)) ] - 1 = 1.17%

8 เกณฑ์อ้างอิง (Benchmark)

9 เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Benchmark)
บริษัทจัดการต้องมีการตกลงกับคณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ภายใต้การบริหารจัดการของคนทุกกองทุน ถึงเกณฑ์อ้างอิงผลการ ดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยเป็นเกณฑ์อ้างอิงผสม (Composite Benchmark) ที่ต้อง สอดคล้องกับทรัพย์สินการลงทุน ตามน้ำหนักที่สะท้อนความเสี่ยงการ ลงทุนของนโยบายการลงทุน (Investment Policy) ซึ่งคณะกรรมการ กองทุนและบริษัทจัดการได้ตกลงกันไว้เป็นลายลักษณ์อักษร”

10 ทำไมจึงต้องมีเกณฑ์อ้างอิง ?
4

11 ทำไมจึงต้องมีเกณฑ์อ้างอิง ?
7

12 ทำไมจึงต้องมีเกณฑ์อ้างอิง ?
กองทุนตราสารหนี้ กองทุนตราสารหนี้ “No Corp. Bond” Gov. + Corp. Bond กองทุนตราสารหนี้ กองทุนตราสารหนี้ “Duration < 2 yrs.” “Duration < 4 yrs.” กองทุนผสม กองทุนผสม Equity < 10% Equity < 35% กองทุนตราสารทุน กองทุนตราสารทุน A B จัดตั้ง 2 ม.ค. 51 จัดตั้ง 1 ก.ค. 50 SET Index = SET Index =

13 เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงาน PVD (Benchmark)
ทรัพย์สินกองทุน อัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจำ 1 ปี วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL, KBANK, SCB, KTB หรือ อัตราเงินเฟ้อ (Inflation) BM ในอดีต Composite BM ซึ่งประกอบด้วย BM 1 X % BM 2 Y % BM 3 Z % BM ใหม่ 1. เงินฝาก ตราสารหนี้ , ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ 3. ตราสารทุน

14 TBMA Corporate Bond Index Return หรือ TBMA Composite Bond Index Return
ทรัพย์สินกองทุน BM 1. เงินฝาก 3. ตราสารทุน ตราสารหนี้ , ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน ไม่ใช่สถาบันการเงิน อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี ที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL, KBANK, SCB, KTB TBMA Corporate Bond Index Return หรือ TBMA Composite Bond Index Return SET Index Return หรือ SET Total Return Index SET 50 Index Return

15 เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Benchmark)
ทรัพย์สินกองทุน BM 1. ทรัพย์สินที่เป็นตราสารทุน (Equity Instrument) SET Index Return หรือ SET Total Return Index หรือ SET 50 Index Return 2. ทรัพย์สินในเงินฝากประเภทประจำ (Fixed Deposit) อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี ที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL, KBANK, SCB, KTB

16 เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Benchmark)
ทรัพย์สินกองทุน BM 3. ทรัพย์สินตราสารหนี้ (Debt Instrument) 3.1 ตราสารหนี้ภาครัฐ ชำระคืนเมื่อทวงถาม หรือจะครบกำหนดชำระคืนภายในระยะ เวลาไม่เกิน 1 ปี “ZRR” Government Bond Index Return ที่อายุ 6 เดือน 3.2 ตราสารหนี้ทั่วไป ชำระคืนเมื่อทวงถาม หรือจะครบกำหนดชำระคืนภายในระยะ เวลาไม่เกิน 1 ปี “ZRR” Government Bond Index Return ที่อายุ 6 เดือน 3.3 ตราสารหนี้ภาครัฐ ระบุ Target Duration ของกองทุนที่ชัดเจน “ZRR” Government Bond Index Return ที่อายุของ Target Duration

17 เกณฑ์อ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Benchmark)
ทรัพย์สินกองทุน BM 3.4 ตราสารหนี้ภาครัฐ แต่ไม่มีการระบุ Target Duration ThaiBMA Government Bond Index Return 3.5 ตราสารหนี้ทั่วไป และมีการระบุ Target Duration “ZRR” Composite Bond Index Return ที่อายุของ Target Duration * 3.6 ตราสารหนี้ทั่วไป แต่ไม่มีการระบุ Target Duration ThaiBMA Composite Bond Index Return * กรณีที่ยังไม่สามารถหาข้อมูลเกณฑ์อ้าง “ZRR” Composite Bond Index Return ที่อายุของ Target Duration ของนโยบายการลงทุนของกองทุนนั้นๆ ได้ อนุโลมให้ใช้เกณฑ์อ้างอิง “ZRR” Government Bond Index Return ที่อายุของ Target Duration ของกองทุนนั้นไปก่อน

18 การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 1
ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy 1. เงินฝาก เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ ตราสารทุน < 20% TBMA Composite Bond Index Return ตราสารหนี้ , ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน= สถาบันการเงิน = สถาบันการเงิน SET Index Return/ SET Total Return Index/ SET 50 Index Return 3. ตราสารทุน

19 การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 2
ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy 1. เงินฝาก เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB TBMA Composite Bond Index Return SET Index Return ตราสารหนี้ , ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน= สถาบันการเงิน = สถาบันการเงิน 3. ตราสารทุน

20 การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 3
ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy กำหนด ใน Inv. Policy ว่า Port Duration < 2.5 ปี เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ -ไม่กำหนด Max limit 3. ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB ThaiBMA Government Bond Index Return 3. SET Index Return เงินฝาก ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน ไม่ใช่สถาบัน การเงิน 3. ตราสารทุน

21 การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 4
ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ -ไม่กำหนด Max limit 3. ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB “ZRR” Gov.Bond Index Return ที่ 2 ปี 3. SET Index Return เงินฝาก ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน ไม่ใช่สถาบัน การเงิน 3. ตราสารทุน

22 การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 5
ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy กำหนด ใน Inv. Policy ว่า Port Duration < 3 ปี เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ -ไม่กำหนด Max limit 3. ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB “ZRR” Gov. Bond Index Return ที่ 3 ปี 3. SET Index Return weight = 100% เงินฝาก ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน ไม่ใช่สถาบัน การเงิน 3. ตราสารทุน

23 การเลือกใช้ BM – ตัวอย่างที่ 6
ทรัพย์สินกองทุน BM Inv. Policy เงินฝาก -ไม่กำหนด Max limit ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ -ไม่กำหนด Max limit 3. ตราสารทุน < 20% Avg. 1-Yr. FD i ฿1MM. for PVD BBL,KBANK,SCB,KTB “ZRR” Gov.Bond Index Return ที่ 3 ปี SET Index Return weight = 10% (min. + max.) 2 เงินฝาก ตราสารหนี้, ตราสารหนี้เปลี่ยนมือได้ - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - สถาบันการเงิน ไม่ใช่สถาบัน การเงิน 3. ตราสารทุน

24 แนวทางในการกำหนดเกณฑ์อ้างอิงที่เหมาะสม
เลือกตัวเกณฑ์อ้างอิง (Benchmark) ที่สะท้อนผลการดำเนินงาน ได้ดีที่สุด กำหนดน้ำหนักของเกณฑ์อ้างอิง - ที่สะท้อนผลการดำเนินงานได้ดีที่สุด - ให้ผู้จัดการใช้ความพยายามในการสร้างผลตอบแทนกองทุน ที่ดีกว่าเกณฑ์อ้างอิง (BM) - สะท้อนความคาดหมายใน ผลตอบแทน (Expected Return) และ ความสามารถในการรับความเสี่ยง (Risk Tolerance) กรณีที่ ผลตอบแทนไม่เป็นตามความคาดหมายของผู้ลงทุน

25 การเปิดเผยและการนำเสนอข้อมูล การวัดผลการดำเนินงานและ Benchmark
ในการนำเสนอข้อมูล Benchmark ของแต่ละกองทุน บริษัทจัดการ ต้องเปิดเผยข้อมูล Benchmark ของแต่ละ กองทุนต่อ FC เป็นประจำทุกเดือน ภายในระยะเวลา เดียวกันกับการเปิดเผยผลการดำเนินงานกองทุน หากระยะเวลาแสดงผลการดำเนินงานยังไม่ครบ 12 เดือน ให้แสดงข้อมูลตามจริงที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น โดยแสดง เป็น YTD หรือ Since Inception ห้ามทำเป็นอัตรา ผลตอบแทนต่อปี (Annualized)


ดาวน์โหลด ppt ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google