งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ KM คืออะไร?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ KM คืออะไร?"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ KM คืออะไร?
... เครื่องมือ ผ่อนแรงในการเรียนรู้และพัฒนางาน ... เครื่องมือ สร้างพลังทวีคูณ (Synergy) จากการ รวมหมู่พลังที่แตกต่าง หลากหลาย ... เครื่องมือ สร้างความสัมพันธ์ในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ... เครื่องมือ ใช้ความรู้ของทั้งในและนอกหน่วยงาน ... เครื่องมือ ดึงศักยภาพของคน & ทีมออกมาใช้ ... เครื่องมือ ที่สร้างความเป็นไปได้ (Possibility) ... เครื่องมือ ที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ดีขึ้น จากประสบการณ์จริง

2 KM เป็น “เครื่องมือ” บริหาร ชนิดหนึ่ง ต้องเลือกใช้ ให้เหมาะกับสถานการณ์

3 ต้องรู้จัก “ปรับเครื่องมือ” ให้เข้ากับบริบท

4 การจัดการความรู้ BoK 3 มุมมอง CoP PoK ความรู้ในกระดาษ Knowledge
Body of Knowledge 3 มุมมอง KM ที่สมบูรณ์ ควรมีทั้งสามส่วน ความรู้ในเครือข่าย ความรู้ในคน CoP PoK Learning Community Process of Knowing

5 Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
ส่วนที่ 1 เน้นการจัดระบบ ody ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ BoK f nowledge Learn2gether

6 PoK ฝึกการใช้สมอง ทั้งสองฝั่ง เหตุผล เหตุปัจจัย rocess f nowing
ส่วนที่ 2 เน้นการจัดกระบวนการ rocess Dialogue Discussion PoK f Problem-solving Storytelling nowing ฝึกการใช้สมอง ทั้งสองฝั่ง วิเคราะห์ สังเคราะห์ จินตนาการ ความรู้สึก

7 ส่วนที่ 3 เน้นการสร้าง CoPs
มาก ความ สนใจ ในเรื่อง นั้นๆ ส่วนที่ 3 เน้นการสร้าง CoPs Community of Practices คือที่ๆ คนหลายๆ คนมารวมตัวกันเป็นชุมชน CoPs จะเกิดได้ต้องอาศัย 3 องค์ประกอบหลัก น้อย มาก มีความสัมพันธ์ที่ดี สนิทสนม คุ้นเคย ไว้เนื้อเชื่อใจ รู้สึกปลอดภัย ความพร้อมที่จะแบ่งปัน มีความสนใจใน เรื่องเดียวกัน มีเรื่องที่จะแบ่งปัน ประสบการณ์ ประเด็นความสำเร็จ เทคนิคการแก้ปัญหา มีปัญหาร่วมกัน แสวงหาบางอย่างร่วมกัน

8 Facilitator Change Network Manager
KM of the Registrar “is My Choice” Knowledge Workers Project Partners Change Share & Learn Process Change Management Networking เน้นขับเคลื่อนกระบวนการ ใช้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Success Storytelling Train “Facilitator” เทคนิคการเป็น “คุณลิขิต” (เทคนิคการถอดความรู้) เน้นขับเคลื่อนหน่วยงาน พัฒนาองค์การสู่ความเป็น “เลิศด้านบริการ” ใช้ Self Assessment + ปิด Gap + M&E + CoP Train “Change” เน้นขับเคลื่อนภาคีเครือข่าย ใช้หลัก OM (Outcome Mapping & Open Mind) ทำ M&E แบบที่มี Learning “เนียน” อยู่ข้างใน 2 Facilitator Change Network Manager

9 After Action Review : AAR
เครื่องมือ KM Peer Assists : เพื่อนช่วยเพื่อน Storytelling : การเล่าเรื่อง On the Job Training Dialogue After Action Review : AAR ตารางอิสรภาพ บันไดแห่งการเรียนรู้ ธารปัญญา Retrospect : เรียนรู้เมื่อสิ้นสุดโครงการ ฯลฯ

10 ฝึกเป็น ผู้เล่าเรื่องและผู้ฟังที่ดี
Storytelling ฝึกเป็น ผู้เล่าเรื่องและผู้ฟังที่ดี

11 หลักการเล่าเรื่อง CAR Technique
C = Content A = Action R = Result

12 C = Content เตรียมเนื้อหาสาระของเรื่องที่จะเล่า ลำดับเหตุการณ์
ตัวละคร (ผู้ที่เกี่ยวข้อง) แง่คิด ฯลฯ

13 A = Action การเล่าเรื่อง เล่าจากประสบการณ์จริง
ลำดับขั้นตอนชัดเจนให้รู้ว่าเกิดอะไร? ใครทำอะไร? ที่ไหน? อย่างไร? สะท้อนอารมณ์เรื่องราว ตามความรู้สึกของ ผู้เล่า ใช้ภาษาง่ายๆ / สนุกสนานบ้าง นำเสียง จังหวะ ลีลาท่าทาง อารมณ์ขันเพื่อคลาย เครียด

14 R = Resulty สรุปบทเรียน ได้อะไร เรียนรู้อะไร

15 เทคนิคการเล่าเรื่อง ยกเพียงขั้นตอนใด ขั้นตอนหนึ่งของการทำงานที่ภูมิใจมาเล่าก็ได้ ไม่จำเป็นต้องยกมาทั้งหมด เล่าสั้นๆ กระชับ จำเสมอว่าไม่เคยมีใครเล่ารายละเอียดเรื่องใดได้หมดในเวลาจำกัด เล่าโดยไมตีความแต่ให้ผู้ฟังตีความเอง

16 ผู้ฟังที่ดี ฟังอย่างตั้งใจ (Active listening /deep listening)
เปิดใจกว้าง อย่าเพิ่งด่วนสรุปว่า “ฉันรู้แล้ว” ลองคิดในมุมที่ท่านไม่เคยคิดดูบ้าง อย่าปิดกั้นความคิดตัวเอง เมื่อไรที่ใจเป็นอิสระ ความคิดแปลกใหม่ มักจะผุดขึ้นมากลางใจในขณะนั้น

17 ข้อห้ามระหว่างฟังเรื่องเล่า
พูดกับคนอื่นไม่สนใจเรื่องเล่า แนะนำผู้เล่าว่าควรทำอย่างนั้น ควรทำอย่างนี้ ตั้งคำถามที่เห็นขัดแย้ง พูดจาตัดพ้อ ทำนองว่าเป็นเรื่องเล็กๆ ไม่น่าจะสำคัญอะไรมากนัก

18 คุณสมบัติที่ดีของ “คุณอำนวย” (Facilitator)
CA : กระตุ้นให้เกิดความต่อเนื่อง Network Manager : ความเชื่อมโยง

19 เป็น...นักขายฝัน ทำความเข้าใจและเชื่อมประสานทั้ง “คุณเอื้อ” และ “คุณกิจ”

20 เป็น...ดาวยั่ว ยั่วให้คิด ยุให้คุย

21 ....ยุให้.... “คุณกิจ” คิดคำถามและหาคำตอบจากการปฏิบัติด้วยตัวเอง

22 เป็น...นักฉวยโอกาส จัดให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ทุก เวลา สถานที่

23 ไร้รูปแบบ เปิดประเด็นของการเรียนรู้ ใช้ลูกเล่นแหย่ด้วยคำถาม จับประเด็นให้ได้ ให้เร็ว ให้ตอบโจทย์ที่ต้องการ

24 เป็น...นักสร้างบรรยากาศ เป็นมิตร เปิดใจ

25 สร้างแรงจูงใจ ให้กำลังใจ ให้ความรัก - ชื่นชมทุกคน/ บ่อยๆ - สร้างอารมณ์ขัน - เปลี่ยนที่คุยหาสภาพแวดล้อมดีๆ - เปลี่ยนหัวข้อคุย - ให้ทุกอย่างเป็นธรรมชาติ - ใช้น้ำเสียง

26 พูดเชิงบวก - คิดเชิงบวก - ให้เกียรติ - เชื่อว่าทุกคนมีศักดิ์ศรี - มีภาวะผู้นำ - กัดไม่ปล่อย - Deep Listening ฯลฯ

27 คุณสมบัติที่ดีของ “คุณลิขิต” (Note taker)
- ตั้งใจฟัง - จดบันทึกอย่างละเอียด - เลือกใช้เทคนิคการบันทึกตามความเหมาะสม - ประสานงานกับคุณอำนวย - จดบันทึกอย่างรวดเร็ว - วางแผนและเตรียมตัวอย่างดี - บันทึกทั้งในลักษณะ Context และ Content - จับประเด็นและวิเคราะห์ข้อมูล

28 บทสรุปการเรียนรู้ แหย่ หยั่ง แยก ยำ โยง KM of the Registrar
Is My Choice หยั่ง แยก โยง ยำ


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ KM คืออะไร?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google