งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Introduction to Computer

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Introduction to Computer"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Introduction to Computer
By…Suthida Chaichomchuen

2 What is Computer? อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูล (ตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์) โดยมีคุณสมบัติที่สำคัญคือสามารถกำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้

3 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ความเร็ว ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรงและแม่นยำ จัดเก็บข้อมูลได้ปริมาณมาก ความสามารถในการสื่อสารและเครือข่าย

4 ชนิดของคอมพิวเตอร์ Supercomputers Mainframe Computers Minicomputers
Workstations Microcomputers

5 Supercomputer ขนาดใหญ่ที่สุด, ทำงานรวดเร็ว, ประสิทธิภาพสูง, ราคาแพง
ใช้ในงานที่มีการคำนวณที่ซับซ้อน เช่น การวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม การพยากรณ์อากาศ การบิน ฯลฯ มีความรวดเร็วในการคำนวณได้มากกว่า 1 ล้านล้านครั้งต่อวินาที (1 Trillion calculations per second)

6 Supercomputer รองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100 ตัว
หน่วยวัดความเร็วเป็น กิกะฟลอป (Gigaflop)

7 Mainframe Computer มีประสิทธิภาพรองลงมาจาก Super Computer
ใช้ตามหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่ ที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ ใช้การทำงานแบบ Time sharing, Multiuser, Centralized Data Procesing

8 Mainframe Computer สามารถรองรับการใช้งานของ user ได้มากกว่า user และประมวลผลได้มากกว่า 1,600,000,000 ล้านชุดคำสั่งต่อวินาที หน่วยวัดความเร็วเป็น megaflop (คำนวณ 1 ล้านครั้งใน 1 วินาที)

9 Minicomputer หลักการทำงานเช่นเดียวกับเครื่อง Mainframe

10 Workstation มีระดับความสามารถในการประมวลผลเทียบชั้นกับ Minicomputers
ใช้สถาปัตยกรรมชิปประมวลผลแบบ RISC (Reduced Instruction Set Computer) ซึ่งมีการประมวลผลที่รวดเร็ว มักใช้ระบบปฏิบัติการ UNIX เป็นหลักสำคัญ

11 Workstation นิยมใช้กับงานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และการออกแบบกราฟิกแอนนิเมชั่น สามารถขยายหน่วยความจำหลักได้มากกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ มีระบบการแสดงผลและจอภาพที่มีความละเอียดสูงมาก

12 Microcomputer เรียกอีกชื่อว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) ขนาดเล็ก มีความคล่องตัวสูง เคลื่อนย้ายง่าย ราคาถูก ประสิทธิภาพสูง ผู้ใช้สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ ได้ ผู้ใช้สามารถเลือกใช้โปรแกรมได้เอง

13 Microcomputer ในปัจจุบัน
PC : Personal Computer Notebook Computer PDA : Personal Digital Assistants Pocket PC Handhelds PC Palm Computer

14 การจำแนกผู้ใช้งาน (user)
Home User Small Office/Home Office User : SOHO Mobile User Large Business User Power User

15 งานที่นำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้
งานด้านสถานีอวกาศ งานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ งานด้านธุรกิจทั่วไป งานด้านการศึกษาและวิจัย งานด้านการออกแบบทางวิศวกรรม งานอุตสาหกรรมและหุ่นยนต์ การเก็บประวัติอาชญากร งานด้านบันเทิงต่าง ๆ

16 ยุคของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 : Vacuum Tubes ยุคที่ 2 : Transistors
ยุคที่ 3 : Integrated Circuit : IC ยุคที่ 4 : Large-Scale Integration : LSI ยุคที่ 5 : Very Large-Scale Integration : VLSI

17 ยุคที่ 1 (1951-1958) ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยประมวลผลกลาง
ใช้ดรัมแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำหลัก ใช้บัตรเจาะรูเป็นหน่วยความจำสำรอง ใช้ภาษาเครื่องในการควบคุมการทำงาน

18 ยุคที่ 1 มีขนาดใหญ่โตมาก เนื่องจากมีหลอดสุญญากาศหลายหมื่นหลอด
เกิดความร้อนในการทำงานสูงมาก มีความน่าเชื่อถือต่ำ คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มนับจาก UNIVAC I (UNIVersal Automatic Computer I) เป็นต้นมา

19 ยุคที่ 2 ( ) ใช้วงจรทรานซิสเตอร์ทดแทนหลอดสุญญากาศ ซึ่งมีคุณสมบัติ เป็นสวิตซ์ที่มีขนาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย ประมวลผลรวดเร็ว มีความน่าเชื่อถือมากกว่าหลอดสุญญากาศ ใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำหลัก

20 ยุคที่ 2 ใช้บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก เป็นหน่วยความจำสำรอง และมีการใช้ จานดิสก์ ในปลายยุค ใช้ระบบปฏิบัติการแบบ Batch Processing ใช้ภาษาสัญลักษณ์ในการควบคุมการทำงาน และมีการพัฒนาภาษาระดับสูงได้แก่ FORTRAN COBOL

21 ยุคที่ 2 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ IBM-7090 IBM-7070 IBM-1401 UNIVAC
LARD CDC 1604 Philco2000

22 ยุคที่ 3 ( ) มีการค้นพบเทคโนโลยีโซลิตสเตต (Solid-State) ซึ่งได้เป็นวงจร IC (Integrated Circuit) ขึ้นมา เป็นที่มาของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ใช้ภาษาระดับสูงอย่างแพร่หลาย มีการใช้ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล และตัวแปลภาษาเกิดขึ้น ใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำหลัก

23 ยุคที่ 3 ใช้ดิสก์และจานแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำสำรอง
ใช้ระบบปฏิบัติการแบบ Multi-Programming และระบบ Time-Sharing เป็นยุคแห่งการประมวลผลข้อมูล (Data Processing) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ System360

24 ยุคที่ 4 (1972-1978) ใช้เทคโนโลยี LSI (Large-Scale Integration)
เริ่มใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 เกิดเครื่อง IBM-PC ในยุคนี้มีการสร้างเครื่อง Supercomputer ชื่อ CRAY-1 และ CRAY X-MP ซึ่งมีความเร็วในการประมวลผล 100 ล้านคำสั่งต่อวินาที

25 ยุคที่ 4 มีการพัฒนาภาษา 4GL (Fourth GL)
มีเครื่องมือช่วยในการพัฒนาโปรแกรม (CASE Tools) เกิดเทคโนโลยีฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)

26 ยุคที่ 5 (1979-ปัจจุบัน) ใช้เทคโนโลยี VLSI (Very Large-Scale Integration) ชิปในยุคนี้มีความสามารถเทียบเท่ากับ Mainframe Computer ในยุคก่อน ๆ เทคโนโลยีชิปพัฒนาด้วยการ ลดขนาดลง และภายในสามารถบรรจุจำนวนทรานซิสเตอร์ได้มากขึ้น

27 ยุคที่ 5 เป็นยุคที่นำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์กับงาน
ด้านฐานความรู้ (Knowledge Base) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence)

28 Computer System

29 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Hardware Software Peopleware Data

30 Hardware ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ที่สามารถสัมผัสได้ด้วยมือ

31 Hardware

32 ส่วนประกอบทางด้าน Hardware
Input Devices Central Processing Unit Memory Output Devices Storage

33 ความสัมพันธ์ของ Hardware

34 Hardware : Input devices
ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก

35 Hardware : Input devices
Keyed Device Pointing Devices Touch-Sensitive Screen Pen-Based System Data Scanning Devices Voice Recognition Devices

36 Input devices : Keyed Device
Keyboard : มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ดีด แต่มีจำนวนแป้นมากกว่า แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม Character Keys Control Keys Function Keys Numeric Keys

37 Input devices : Pointing Devices
Mouse มีลูกกลมกลิ้งอยู่ด้านล่าง หรือเป็นระบบแสง ด้านบนจะมีปุ่มให้กด 2 หรือ 3 ปุ่ม ส่งข้อมูลเข้าสู่หน่วยความจำโดยการเลื่อนเมาส์ให้ลูกกลมด้านล่างหมุน เพื่อเป็นการเลื่อนตำแหน่งตัวชี้

38 Input devices : Pointing Devices
Track Ball มีลักษณะเป็นลูกบอลเล็ก ๆ วางอยู่หน้าจอภาพ เลื่อนตำแหน่งของตัวชี้ได้โดยการหมุนลูกบอล Track Point เป็นแท่งพลาสติกเล็ก ๆ อยู่ตรงกลางแป้นพิมพ์ บังคับโดยใช้นิ้วหัวแม่มือเลื่อนตำแหน่งตัวชี้

39 Input devices : Pointing Devices
Touch Pad เป็นแผ่นสี่เหลี่ยมวางอยู่หน้าแป้นพิมพ์ ใช้นิ้ววาดเพื่อเลื่อนตำแหน่งของตัวชี้ Joy Stick เป็นก้านสำหรับใช้โยกขึ้น/ลงซ้ายขวาเพื่อย้ายตำแหน่งของตัวชี้

40 Input devices : Touch-Sensitive Screen
Touch Screen เป็นจอภาพแบบพิเศษ โดยผู้ใช้แตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในตำแหน่งที่กำหนด เพื่อเลือกการทำงานที่ต้องการ

41 Input devices : Pen-Based System
Light Pen ใช้เซลล์แบบ photoelectric ซึ่งมีความไวต่อแสงเป็นตัวกำหนดตำแหน่งบนจอภาพ ใช้งานโดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตำแหน่งที่ต้องการ

42 Input devices : Pen-Based System
Digitizing Tablet ประกอบด้วยกระดาษที่มีเส้นแบ่ง (Grid) และใช้ปากกาเฉพาะ (Stylus) ชี้ไปบนกระดาษ เพื่อส่งข้อมูลตำแหน่งเข้าไปคอมพิวเตอร์

43 Input devices : Data Scanning Devices
Barcode Reader พิมพ์รหัสสินค้าออกมาในรูปของแถบสีดำและขาวต่อเนื่องกันไป ใช้ Barcode Reader อ่านข้อมูลบนแถบ Barcode เพื่อเรียกข้อมูลของรายการสินค้า

44 Input devices : Data Scanning Devices
Scanner ใช้อ่านหรือ scan ข้อมูลบนเอกสารเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยส่องแสงไปยังวัตถุ แล้วตรวจจับความเข้มของแสงที่สะท้อนกลับมา

45 Input devices : Data Scanning Devices
Digital Camera ใช้สำหรับถ่ายภาพแบบไม่ต้องใช้ฟิล์ม ภาพที่ถ่ายจะเก็บในลักษณะดิจิตอล Digital Video ใช้สำหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหว เก็บข้อมูลเป็นแบบดิจิตอล

46 Input devices : Voice Recognition Device
Speech Recognition Device เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงและแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลเก็บเป็นข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์

47 Hardware : Central Processing Unit

48 Hardware : CPU เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์
เป็นหน่วยที่มีความซับซ้อนมากที่สุด เป็นตัวกำหนดความเร็วของเครื่อง

49 Hardware : องค์ประกอบของ CPU
วงจรใน CPU เรียกว่า Microprocessor ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ Control Unit : ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ Arithmetic and Logical Unit (ALU) : ทำหน้าที่ประมวลผลการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และการเปรียบเทียบทางตรรก

50 Hardware : องค์ประกอบของ CPU
มี Register ทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลหรือคำสั่งที่ถูกนำเข้ามาปฏิบัติการใน CPU มี Bus เป็นเส้นทางในการส่งผ่านสัญญาณไฟฟ้าของหน่วยต่าง ๆ ภายในระบบ

51 Hardware : Memory เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจำข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ บางครั้งเรียกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) มี 2 ประเภทหลักคือ ROM (Read Only Memory) RAM (Random Access Memory)

52 Memory : ROM หน่วยความจำที่เก็บชุดคำสั่งที่สำคัญของระบบคอมพิวเตอร์
สามารถเก็บข้อมูลได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟเลี้ยง ไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติมชุดคำสั่งได้ ความเร็วในการทำงานช้ากว่า RAM

53 Memory : ROM แบบพิเศษ PROM : Programmable Read-Only Memory
สามารถบันทึกด้วยเครื่องพิเศษได้ 1 ครั้ง จากนั้นจะลบหรือแก้ไขไม่ได้ EPROM : Erasable PROM ใช้แสงอัลตราไวโอเลตในการเขียนข้อมูล สามารถนำออกจากคอมพิวเตอร์ไปลบโดยใช้เครื่องมือพิเศษและบันทึกข้อมูลใหม่ได้

54 Memory : ROM แบบพิเศษ EEPROM : Electrically Erasable PROM
ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยง สามารถเขียน แก้ไข หรือลบข้อมูลที่เก็บไว้ได้ด้วยโปรแกรมพิเศษ ราคาสูงและความจุข้อมูลต่ำ

55 Memory : RAM หน่วยความจำที่มีความเร็วสูง
เป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์ สามารถเขียนและแก้ไขข้อมูลได้ ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ถ้าไม่มีไฟเลี้ยง

56 Memory : RAM

57 Memory : RAM ที่นิยมใช้
DRAM (Dynamic RAM) ต้องมีการย้ำสัญญาณไฟฟ้าตลอดเวลา เรียกว่า การรีเฟรช ความเร็วไม่สูง ราคาต่ำ มีความเร็วอยู่ระหว่าง nanosecond

58 Memory : RAM ที่นิยมใช้
SRAM (Static RAM) มีความเร็วสูง ใช้พลังงานน้อย ราคาสูง มีความเร็วต่ำกว่า 10 nanosecond

59 Hardware : Output Devices

60 Hardware : Output Devices
ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท แสดงผลชั่วคราว : Soft Copy แสดงผลถาวร : Hard Copy

61 Output Devices : Soft copy
Monitor ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ทันที ประกอบด้วยจุดเป็นจำนวนมากเรียกว่า Pixel มี 2 ประเภท CRT LCD

62 Output Devices : Soft copy
Projector นิยมใช้ในการเรียนการสอนหรือการประชุม สามารถต่อสัญญาณจากคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือใช้อุปกรณ์พิเศษในการวางลงบนเครื่องฉาย

63 Output Devices : Hard copy
Printer Impact Printer : ใช้การตอกให้คาร์บอนบนผ้าหมึกติดบนกระดาษตามรูปแบบที่ต้องการ Character Printer : พิมพ์ครั้งละ 1 ตัวอักษร Line Printer : พิมพ์ครั้งละ 1 บรรทัด

64 Output Devices : Hard copy
Printer Non Impact Printer : ใช้เทคนิคการพิมพ์จากวิธีทางเคมี Laser Printer : ใช้หลักการคล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร Inkjet Printer : ใช้หลักการของการพ่นน้ำหมึก

65 Output Devices : Hard copy
Plotter ใช้วาดหรือเขียนภาพในงานที่ต้องการความละเอียดสูง ใช้กับงานออกแบบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม

66 Hardware : Storage ทำหน้าที่เก็บข้อมูลสำรองจากหน่วยความจำหลัก

67 Hardware : Storage Floppy Disk 3.5 นิ้ว และ 5.25 นิ้ว
สามารถอ่านได้ด้วย Disk Drive Hard Disk ทำจากแผ่นโลหะแข็งเรียกว่า Platter เก็บข้อมูลได้มากและทำงานเร็วกว่า

68 Hardware : Storage CD-ROM (Compact Disk ROM)
เก็บข้อมูลได้สูงสุด 650 MB DVD (Digital Versatile Disk) เก็บข้อมูลได้ต่ำสุด 4.7 GB

69 Computer Software

70 Computer Software

71 Computer Software ส่วนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กระบวนการในการทำงาน ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องในระบบประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท System Software Application Software

72 Software : System Software
โปรแกรมที่ทำหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Hardware และอำนวยเครื่องมือสำหรับการทำงานพื้นฐานที่เกี่ยวกับ Hardware แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ Operating System Utility Program

73 Operating System ชุดของโปรแกรมที่อยู่ระหว่าง Hardware และ Application Software มีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของ Hardware และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของ Hardware ให้กับ Application Software

74 หน้าที่ Operating System
ช่วยในการบูตเครื่อง ควบุมอุปกรณ์การทำงานของคอมพิวเตอร์ จัดสรรทรัพยากรในระบบ จัดการงานในส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้

75 System Software : หน้าที่ OS

76 System Software : ตัวอย่าง OS
MS-DOS Microsoft Windows UNIX LINUX Mac System 7

77 Utility Program เป็นโปรแกรมระบบที่ใช้งานเฉพาะอย่าง เช่นโปรแกรม ScanDisk, Disk Defragmenter, System Restore และ Backup เป็นต้น

78 Software : Application Software

79 Application Software โปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ มี 2 ประเภท Special Purpose Software General Purpose Software

80 App Software : Special Purpose

81 App Software : General Purpose

82 App Software : General Purpose
Electronic Spreadsheet เป็นลักษณะของตาราง ใช้ในงานบัญชี, การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิต,ิ บริหารการเงิน ฯลฯ Word Processing เป็นโปรแกรมสำหรับการพิมพ์งานเอกสาร

83 App Software : General Purpose
Desktop Publishing จัดการเอกสาร การเรียงพิมพ์ การจัดสี Presentation Software ใช้สำหรับการนำเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

84 App Software : General Purpose
Graphic Software สำหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ Database สำหรับสร้างแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ เก็บไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยโปรแกรมจะมีเครื่องมือในการอำนวยความสะดวกในจัดการแฟ้มข้อมูล

85 App Software : General Purpose
Telecommunication Software ใช้ติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่อยู่ห่างไกลออกไป Resource Discovery Software เป็นเครื่องมือสำหรับค้นหาข้อมูลที่ต้องการ

86 Computer Languages ภาษาเครื่อง : Machine Language
ภาษาระดับต่ำ : Low-Level Language ภาษาระดับสูง : High-Level Language

87 ภาษาเครื่อง เป็นภาษาระดับต่ำที่สุด ใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล
มีรูปแบบของคำสั่งเฉพาะแต่ละเครื่อง

88 ภาษาเครื่อง ข้อดี คำสั่งที่เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ในทันที สามารถสร้างคำสั่งใหม่ ๆ ได้โดยที่ภาษาอื่นทำไม่ได้

89 ภาษาเครื่อง ข้อเสีย โปรแกรมมีความยาวมาก ทำให้ผิดพลาดได้ง่าย
ต้องจดจำรหัสคำสั่งต่าง ๆ และตำแหน่งของข้อมูลคำสั่งนั้น ๆ

90 ภาษาระดับต่ำ ภาษาแอสเซมบลี : Assembly Language
ใช้รหัสเป็นคำแทนภาษาเครื่อง ที่เรียกว่า นิวมอนิกโค้ด (mnemonic code) ใช้ Assembler แปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

91 ภาษาระดับต่ำ ข้อดี การเขียนโปรแกรมง่ายและสะดวกกว่าการเขียนด้วยภาษาเครื่อง ข้อเสีย ขั้นตอนการเขียนคล้ายกับภาษาเครื่อง ดังนั้นจึงมีความยาวมาก

92 ภาษาระดับสูง ใช้คำในภาษาอังกฤษแทนคำสั่งต่าง ๆ
สามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ ตัวแปรภาษาจะใช้แบบ Compiler และ Interpreter FORTRAN, BASIC, PASCAL, RPG, COBOL, etc.

93 Translator เป็นโปรแกรมที่มีหน้าที่แปลภาษาคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่อง มี 3 ประเภทคือ Assembler Interpreter Complier

94 ประเภทของ Translator Assembler แปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
Interpreter แปลภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง ใช้หลักการแปลพร้อมกับทำงานตามคำสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้งโปรแกรม

95 ประเภทของ Translator Compiler
แปลภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่องเช่นเดียวกับ Interpreter ใช้วิธีแปลทั้งโปรแกรมให้เป็น object code ก่อนที่จะนำไปทำงานเช่นเดียวกับ Assembler


ดาวน์โหลด ppt Introduction to Computer

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google