งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน
มองดีๆ มีทางแก้ ดร เกษมสันติ์ สุวรรณรัต

2 ปัญหาน้ำเน่าเสีย น้ำเสียจากเขตคลองชลประทานไหล่ปะปนกับน้ำดี

3 ปัญหาน้ำเน่าเสีย บางปู จ.สมุทรปราการ

4 ปัญหาน้ำเน่าเสีย คลองสารภี

5 ปัญหาน้ำเน่าเสีย คลองขวาง จ.ฉะเชิงเทรา

6 รู้ได้อย่างไรว่าน้ำเน่า ?

7 มาตรฐานคุณภาพน้ำ หลักเกณฑ์การกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งในทางน้ำชลประทาน
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ระหว่าง 6.5 – 8.5  ค่าการนำไฟฟ้า (EC x 106) ไม่มากกว่า 2,000 ไมโครโมส์/ซม. ค่าของแข็งที่ละลายได้ (TDS) ไม่มากกว่า 1,300 มิลลิกรัม/ลิตร ค่าของแข็งที่แขวนลอย (SS) ไม่มากกว่า 30 มิลลิกรัม/ลิตร  เปอร์มังกาเนท (PV) ไม่มากกว่า 30 มิลลิกรัม/ลิตร  ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไม่มากกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร ค่าไซยาไนด์ (Cyanide) ไม่มากกว่า 0.2 มิลลิกรัม/ลิตร  น้ำมันและไขมัน (Oil & Grease) ไม่มากกว่า 5.0 มิลลิกรัม/ลิตร 

8 มาตรฐานคุณภาพน้ำ หลักเกณฑ์การกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งในทางน้ำชลประทาน
ค่าฟอร์มัลดีไฮด์ (Formaldehyde) ไม่มากกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร   พินอลและครีโซลส์ (Phenols & Cresols) ไม่มากกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร  คลอรีนอิสระ (Free Chlorine) ไม่มากกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร ค่ายาฆ่าแมลง (Insecticide) และสารกัมมันตรังสีต้องไม่มีเลย  การกำหนดค่าสีหรือกลิ่น ไม่เป็นที่พึงรังเกียจ น้ำมันทาร์ (TAR) ต้องไม่มีเลย 

9 มาตรฐานคุณภาพน้ำ หลักเกณฑ์การกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งในทางน้ำชลประทาน
สังกะสี (Zn )  ไม่มากกว่า   5   มิลลิกรัม/ลิตร  โครเมียม (Cr)  ไม่มากกว่า   มิลลิกรัม/ลิตร อาร์เซนิค (As) ไม่มากกว่า  0.25    มิลลิกรัม/ลิตร  ทองแดง (Cu)  ไม่มากกว่า   1         มิลลิกรัม/ลิตร   ปรอท (Hg)    ไม่มากกว่า    0.005    มิลลิกรัม/ลิตร แคดเมียม (Cd)ไม่มากกว่า     0.03     มิลลิกรัม/ลิตร บาเรียม (Ba)   ไม่มากกว่า    1           มิลลิกรัม/ลิตร เซเลเนียม (Se) ไม่มากกว่า    0.02      มิลลิกรัม/ลิตร ตะกั่ว (Pb)      ไม่มากกว่า    0.1        มิลลิกรัม/ลิตร นิเกิล (Ni)       ไม่มากกว่า    0.2        มิลลิกรัม/ลิตร  แมงกานีส (Mn)ไม่มากกว่า   5           มิลลิกรัม/ลิตร

10 สาเหตุน้ำเน่าเสีย

11 ขยะวันละ 6000 ตันก็ลงคลองถ้าไม่เก็บ

12 เดิมมีแต่คลอง ถนน มาทีหลัง อบต เพิ่มพลังออกซิเจนให้ทันการเพิ่มประชากร ก็ไม่เน่า

13 น้ำโสโครกก็ลงคลองแบบนี้

14 ขาดออกซิเจน

15 แสงแดดส่องไม่ถึง

16 ตะใคร่ขึ้นจนข้นขนาดนี้

17 ตะใคร่ขึ้นจนข้นขนาดนี้

18 คลองแม่ข่าเน่า ติดแอเรเต้อก็หาย ทำไหม?
คลองแม่ข่าเน่า ติดแอเรเต้อก็หาย ทำไหม?

19 อุตสาหกรรมก็หายเน่าได้

20 บำบัดแล้วมีเครื่องตักฟองออกก็จบ

21 แร่ธาตุหมุนเวียน

22 อย่าปล่อยจนเป็นแบบนี้

23 ช่วยคนจีนได้ ทำไมจะช่วยไทยไม่ได้
ช่วยคนจีนได้ ทำไมจะช่วยไทยไม่ได้

24 ทำไมต้องปล่อยให้เป็นแบบนี้

25 แนวทางแก้ไข

26 แนวทางแก้ไข น้ำดีไล่น้ำเสีย : ช่วยให้น้ำเสียเจือจาง
ผักตบชวา: ผักตบชวาช่วยดูดซับความสกปรก และสารพิษจากน้ำเน่าเสีย การเติมอากาศ: เพื่อเพิ่มออกซิเจนที่ละลายในน้ำ การผสมระหว่างพืชน้ำกับระบบเติมอากาศ:โดยการสร้างบ่อดักสารแขวนลอย ปลูกต้นกกอียิปต์ เพื่อใช้ดับกลิ่นและปลุกต้นผักตบชวาเพื่อดูดสิ่งสกปรกและโลหะหนัก หลักธรรมชาติบำบัดธรรมชาติ:ประกอบด้วย 4 ระบบ คือ ระบบบ่อบำบัดน้ำเสีย,ระบบบ่อชีวภาพ,ระบบหญ้ากรอง และระบบบำบัดน้ำเสียโดยใช้ป่าชายเลน

27 แนวทางแก้ไข กังหันน้ำชัยพัฒนา : เพื่อเพิ่มให้สัมผัสอากาศได้อย่างทั่วถึง ทำให้ออกซิเจนละลายน้ำได้อย่างรวดเร็ว และทำให้น้ำเกิดการไหลตามทิศทางที่กำหนดด้วย

28 คลวงวนเวียนแบบนี้เรารู้จักทำตั้งแต่ ๒๕๐๙

29 หลังบ้านแบบนี้เรากั้นน้ำไว้แล้วใส่เครื่องปั่นเติมออกซิเจนน้ำจะใสเลี้ยงปลาได้

30 ระวังปฏิกูลส้วมซึม

31 หลังบ้านแบบนี้เรากั้นน้ำไว้แล้วใส่เครื่องปั่นเติมออกซิเจนผลักไล่ขยะเอามาเก็บก็ได้

32 รั้วสะเตนเลสแก้น้ำเน่าไม่ได้แต่แอเรเต้อแก้ได้

33 ระบบบำบัดใหญ่

34 คำถาม?


ดาวน์โหลด ppt ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google