งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง
ศาสตราจารย์ ดร.สุขสันติ์ หอ พิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนัก วิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

2 นักวิจัยพี่เลี้ยง (Mentor) คืออะไร?
นักวิจัยพี้เลี้ยงที่ดีถ่ายทอดความรู้และ ประสบการณ์แก่นักวิจัยรุ่นน้อง---ลดเวลา การศึกษา/เรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้ที่ถ่ายทอดประสบการณ์การทำวิจัยที่จำเป็น อย่างเป็นระบบเพื่อให้นักวิจัยรุ่นน้องประสบ ความสำเร็จอย่างรวดเร็ว ผู้ที่ถ่ายทอดประสบการณ์ (ทั้งด้านที่สำเร็จและ ล้มเหลว) แก่นักวิจัยรุ่นน้อง

3 Mentor vs. Supervisor นักวิจัยพี่เลี้ยงทำงานเพื่อพัฒนาอาชีพของ ผู้ร่วมงาน อาจจะเป็นการกำกับ/กำหนด ทิศทาง (supervise) หรือไม่ก็ได้ supervisor คือผู้ที่รับผิดชอบหรือกำหนด ทิศทางในการทำงานในกับผู้ร่วมงาน อาจจะพัฒนาอาชีพให้แก่ผู้ร่วมงานหรือไม่ก็ ได้

4 ทำไมต้องเป็นนักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดี?
มีความสุขกับการถ่ายทอดประสบการณ์ ดึงดูดนักวิจัย/นักศึกษาที่มีความสามารถ เป็นนักวิจัยระดันแนวหน้าของสาขาวิชาฯ พัฒนา/ขยายเครือข่ายงานวิจัย สร้างความเข้มแข็งให้กับภาควิชา/คณะ/สถาบัน/ มหาวิทยาลัย ได้เพื่อนร่วมงานที่มีประสิทธิภาพและรู้ใจ

5 คุณสมบัติของนักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดี
มีความอดทนต่อการฟังสูง ตำหนิอย่างสร้างสรรค์ (constructive criticism) ชมเชยเมื่อมีผลงานดี เป็นคนใจกว้างและซื่อสัตย์ เป็นแบบอย่างที่ดีทั้งพฤติกรรมและคำพูด เสียสละตนและเวลา มีความสามารถด้านการสื่อสารที่ดี ให้ข้อเสนอแนะ/แนะนำ โดยปราศจาก การสั่งการ* ให้อิสระทางความคิด (อย่างครอบงำ ความคิด) และกระตุ้นให้ทำงานด้วยตนเอง แต่พร้อมให้ความช่วยเหลือ*

6 คุณสมบัติของนักวิจัยรุ่นน้อง Mentee ที่ดี
หมั่นตั้งคำถาม พร้อมเป็นผู้รับการฝึกอบรม (mentored) มุ่งมั่น/ทุ่มเทเวลาที่จะทำงานวิจัยให้ดีที่สุด ยอมรับข้อตำหนิได้ เรียนรู้จากความผิดพลาด มีความอยากรู้อยากเห็น มีความรับผิดชอบสูง ใจกว้างและซื่อสัตย์ สุภาพและเคารพผู้อื่น

7 นักวิจัยพี่เลี้ยงคือ?
อาจารย์ที่ปรึกษาและครู นักวิจัยต้นแบบ เพื่อนร่วมงาน ความล้มเหลวของนักวิจัยคือความล้มเหลวของทีม ความล้มเหลวของทีมทำให้นักวิจัยล้มเหลวเช่นกัน

8 นักวิจัยพี่เลี้ยงคืออาจารย์ที่ปรึกษาและครู
ให้ความรู้แก่นักวิจัย ในบางสถานการณ์ นักวิจัยพี่เลี้ยงอาจต้อง วางตัวให้ห่างจากนักวิจัยพี่เลี้ยงเพื่อให้เคารพและ ปฏิบัติการตามคำสั่ง เมื่อนักวิจัยพี่เลี้ยงมีอายุใกล้เคียงหรือน้อยกว่า นักวิจัยรุ่นน้อง ควรวางตัวให้มีระยะห่าง เพื่อสร้างความเคารพนับถือ

9 นักวิจัยพี่เลี้ยงคือนักวิจัยต้นแบบ
เป็น Independent Researcher อาจารย์ที่ปรึกษามักเป็นต้นแบบของนักศึกษา เป็นตัวอย่างที่ดีทั้งในแง่ของคำพูดและการ กระทำ มุ่งมั่นตั้งใจในการทำงานพี่เลี้ยง อย่าสั่งการ/เผด็จการ และไม่ยกตนขมท่าน จริงใจและตรงไปตรงมา ช่วยพัฒนาและส่งเสริมให้นักวิจัยรุ่นน้องมีชื่อเสียง และเป็นที่ยอมรับ มีความเป็นกลางและเป็นธรรม

10 นักวิจัยพี่เลี้ยงคือเพื่อนร่วมงาน
ความสัมพันธ์ส่วนตัวอาจช่วยให้เป็นพี่เลี้ยงมี ประสิทธิภาพ นักวิจัยแต่ละคนมีความแตกต่างกัน และมี ความต้องการที่แตกต่างกัน ความต้องการอาจแตกต่างกันตามเพศและอายุ ค่าตอบแทน ชื่อเสียง ความต้องการความรู้ใหม่ๆ ความต้องการเปลี่ยนแปลงตามเวลาและไม่มี สิ้นสุด เมื่อความต้องการหนึ่งได้รับการตอบสนองแล้ว ก็จะ มีความต้องการใหม่

11 นักวิจัยพี่เลี้ยงคือเพื่อนร่วมงาน
แสดงทัศนคติ จุดมุ่งหมาย และความฝัน สร้างความฝัน/ความต้องการร่วมกัน บทความวิชาการ การสร้างเครือข่ายวิจัย การทำธุรกิจร่วมกัน รับผิดชอบผลสัมฤทธิ์และความล้มเหลวร่วมกัน ตอบแทนนักวิจัยในกลุ่มอย่างยุติธรรม ความล้มเหลวของนักวิจัยคือความล้มเหลวของทีม ความล้มเหลวของทีมคือความล้มเหลวของนักวิจัย เช่นกัน

12 A mentor helps you best utilize your talents
Summary: A mentor helps you best utilize your talents “A mentor is like a tattoo, it stays with you forever.” From: Mentoring: Turning Pebbles into Diamonds by P.A. Vesilind as reported in Michigan State University Research Integrity Vol. 3, No. 2, Spring 1999


ดาวน์โหลด ppt นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google