งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

B3 นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "B3 นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 B3 นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร
นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร นสพ.พรรณทิภา จินตนาประวาสี

2 Antibiogram มีประโยชน์ต่อการเลือกใช้ยาในการรักษา Bacterial pneumonia จริงหรือไม่

3 1.หลักการและเหตุผล Pneumonia เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
Bacterial pneumonia = Typical pneumonia Lab : Sputum culture , Antibiotic susceptibility test Antibiogram Tx : Antibiotic

4 2.วัตถุประสงค์ ดูผล Tx ของ Pt. ที่ได้รับยาตาม Antibiogram
เปรียบเทียบ 2 กลุ่มข้างต้น เชื้อที่พบมาก ดูค่ารักษาในผู้ป่วย 2 กลุ่มเปรียบเทียบกัน

5 3.คำถามการวิจัย คำถามหลัก “Antibiogram มีประโยชน์ต่อการเลือกใช้ยาในการรักษา bacterial pneumonia จริงหรือไม่”

6 คำถามรอง -เชื้อสาเหตุที่พบมากสุด -ค่าใช้จ่ายในการรักษา เปรียบเทียบ 2 กลุ่ม

7 4.ทบทวนวรรณกรรม Definition จาก Clinical Microbiology Newsletter ; Antibiogram = The Antimicrobial susceptibility profile of a bacterial isolate to battery of antimicrobial agents

8 ทบทวนวรรณกรรม (2) Antibiotic susceptibility test -ใช้วิธีของ Kirby-Bauer ซึ่ง NCCLS ได้กำหนดวิธี และมาตรฐาน และสามารถนำผลจาก lab แต่ละที่มาเปรียบเทียบกันได้

9 ทบทวนวรรณกรรม (3) Indication ของ Antibiotic susceptibility test -To guide clinicians selecting the best antimicrobial agent for individual patient -To accumulate epidemiology information on the resistance of microorganisms

10 ทบทวนวรรณกรรม (4) Incidence of Bacterial pneumonia 1997 : ไทย มี Pt. = 150,508 ราย /100,000 -แนวโน้มสูงขึ้น

11 ทบทวนวรรณกรรม (5) เชียงใหม่ : Streptococcus pneumoniae (50%)
ขอนแก่น : Burkhoderia pseudomallei (18%) จุฬา ฯ : Streptococcus pneumoniae (57%) รามา ฯ : Streptococcus pneumoniae (74.5%)

12 5.นิยามคำศัพท์ Bacterial pneumonia Community-acquired pneumonia (CAP)
Hospital-acquired pneumonia (HAP) Antibiogram

13 นิยามคำศัพท์ (2) Susceptible Intermediate Resistance Inhibition zone

14 6.ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร (population) การวัดผล (Outcome measurement)
ตัวแปรต้น (Independent variable) ตัวแปรตาม (Dependent variable) รูปแบบการวิจัย

15 ประชากร (Population) Target population -Inclusion criteria : Pt. Bacterial pneumonia + ส่ง sputum culture & Antibiotic Sensitivity test : Medicine Ward , รพ.พุทธชินราช 1 Jan Dec 2001

16 Target population -Exclusion criteria : Antibiogram ถ้ามีหลายใบ จะถือเอาใบที่มีรายงานว่าเชื้อขึ้น ใบแรก , ใบอื่น ๆ จะไม่นำมาพิจารณา,ไม่พิจารณา Normal Throat flora

17 Sample size -Proportional -n = Z2PQ/d2 = 220 คน

18 Sample size (ต่อ) Total = 296 ราย ไม่ได้ส่ง antibiogram = 97 Atypical pneumonia = 9 Normal throat flora = 83 เข้า Criteria = 107 ราย

19 การวัดผล (Outcome measurement)
Body Temp. หลังให้ยา 3 วัน -ลดลง = “อาการดีขึ้น” -ไม่ลดลง = “ อาการไม่ดีขึ้น”

20 การให้ยาของแพทย์ ถือว่า “ใช้ตาม Antibiogram” เมื่อ -ให้ยาไปก่อน แล้วเมื่อได้ antibiogram ก็ตรงกับยาที่ให้ -ให้ยาไปก่อน แล้วเมื่อได้ antibiogram ซึ่งไม่ตรงกับที่ให้ไป และ มีการปรับเปลี่ยนเป็นยาตาม antibiogram -ใช้ตาม antibiogram เพียง 1 ยา

21 การให้ยาของแพทย์ ถือว่า “ไม่ใช้ตาม Antibiogram” เมื่อ -ให้ยาไปก่อน แล้วเมื่อได้ antibiogram ซึ่งไม่ตรงกับที่ให้ไป และไม่มีการปรับเปลี่ยนยา หรือปรับเปลี่ยนแต่ไม่ตาม antibiogram - ไม่ใช้ยาตาม antibiogram

22 ตัวแปรต้น (Independent Variable)
การเลือกใช้ยาตาม Antibiogram : เลือก / ไม่เลือก

23 ตัวแปรตาม (Dependent variable)
Body Temp. ภายหลังได้ยา 3 day ลดลง หรือ ไม่ลดลง

24 รูปแบบการวิจัย Retrospective cohort study

25 รูปแบบการวิจัย (2) Exposure : Exposed : กลุ่มที่ใช้ยาตาม antibiogram Non-exposed : กลุ่มที่ไม่ใช้ยาตาม antibiogram Outcome : อาการดีขึ้น อาการไม่ดีขึ้น

26 รูปแบบการวิจัย (3) 2 x 2 table หา Relative Risk (RR)
ทำให้ทราบว่ากลุ่มที่มีการใช้ยาตาม antibiogram จะมีโอกาสอาการดีขึ้นเป็นกี่เท่า เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้ใช้ยาตาม antibiogram

27 7.กรอบแนวคิดการวิจัย

28 8.ข้อจำกัดการวิจัย ทบทวนวรรณกรรม ไม่พบสัดส่วนประชากรที่ใช้ยาตาม antibiogram จึงใช้การประมาณ (80/200) ไม่สามารถตัดสินใจหาค่า P จึงกำหนด P = 0.5 ซึ่งเป็นค่าที่ทำให้ได้ n มากเท่าที่เป็นไปได้ เพื่อครอบคลุมขนาดของกลุ่มตัวอย่างให้มากที่สุด

29 ข้อจำกัดการวิจัย (2) Omission recorded data
การตอบสนองต่อการรักษามีหลายอย่าง เช่น รู้สึกสบายขึ้น,รับประทานอาหารได้มากขึ้น, ไข้ลดลง, หอบเหนื่อยลดลง , เสมหะใสขึ้น ฯลฯ แต่ในวิจัยนี้ เอาแต่ Body temp. ที่ลดลงเท่านั้น เพราะสะดวกต่อการวัด และเชื่อถือได้มากสุด Omission recorded data

30 Confounding bias Pt. Status (Normal / Immunocompromised host)
Community / Hospital acquired pneumonia Bacteria resistance strain Physicians

31 9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ ทราบว่า antibiogram ที่บทบาทต่อการเลือกใช้ยา ?
ทราบเชื้อสาเหตุ ทราบค่ารักษาเฉลี่ยต่อวัน ของผู้ป่วย 2 กลุ่ม

32 10.การวิเคราะห์ข้อมูล Antibiogram มีบทบาทต่อการเลือก antibiotic ?
Ho = สัดส่วนของผู้ป่วยที่มีอาการดีขึ้นใน 2 กลุ่ม ไม่ต่างกัน 2 x 2 table Chi-square p-value = (Accept Ho)

33

34 การวิเคราะห์ข้อมูล (3)
Patient’s status Type of bacterial pneumonia ไม่มีผลต่ออาการที่ดีขึ้นของทั้ง 2 กลุ่ม

35 การวิเคราะห์ข้อมูล (4)
เปรียบเทียบความแตกต่างของค่ารักษาเฉลี่ยต่อวันของผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม Epi info 6 Unpaired t-test t = 1.826 p = (< 0.05) Reject Ho

36

37 การวิเคราะห์ข้อมูล (5)
นั่นคือ ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยของกลุ่มที่ใช้ยาตาม antibiogram จะสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ใช้ยาตาม antibiogram

38 การวิเคราะห์ข้อมูล (6)
จำนวนร้อยละของเชื้อแบคทีเรียสาเหตุ กราฟ

39

40 การวิเคราะห์ข้อมูล (8)
Klebsiella pneumoniae (30.17%) Acetobacter baumannii (23.08%) Pseudomonas aeruginosa (13.08%)

41 บทวิจารณ์และข้อเสนอแนะ
Sample size น้อยเกินไป ควรเพิ่มขนาดของ sample size ระยะเวลา น้อย ควรเพิ่มระยะเวลา เกณฑ์การตัดสินว่า อาการดีขึ้น หรือไม่ ควรศึกษาแบบ Prospective cohort study

42 THE END


ดาวน์โหลด ppt B3 นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google