งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
ร้อยละของนักวิจัยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้บริการเพิ่มขึ้นร้อย ละ 3 ร้อยละของความพึงพอใจในการใช้บริการของ ศูนย์บริการข้อมูลแก่นักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลการดำเนินงานปี 2554 นักวิจัยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้บริการเพิ่มขึ้นร้อยละ ความพึงพอใจในการใช้บริการของศูนย์บริการข้อมูลแก่ นักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร้อยละ 93.20

3 Information Skill and Training
- Information Literacy ฝึกอบรมทักษะการสืบค้น สารนิเทศจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงเรียนรู้ การใช้โปรแกรมการจัดการเอกสาร และการใช้ สารนิเทศในรูปแบบต่าง ๆ - Online Tutorials ศึกษาเรียนรู้การสืบค้น สารนิเทศได้ด้วยตนเอง ผ่านเว็บไซต์ Research Support เข้าสู่เว็บไซต์ Research Support

4 ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินงาน
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินงาน

5 จำนวนนักวิจัยโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย ปี 2552-2554
ห้องสมุดกลาง ห้องสมุดคณะ 3 สาขา 2552 37 72 2553 52 76 2554 53 114

6 สิ่งที่ได้จากการพบนักวิจัย
ความต้องการของนักวิจัยในด้านต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล โปรแกรมการฝึกอบรม การได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์ นักวิจัย ในการส่ง นักศึกษาเข้าอบรมโปรแกรมเรียนรู้การใช้สารสนเทศของ ห้องสมุด การใช้ฐานข้อมูลที่เพิ่มขึ้น คุ้มค่าการลงทุนมากขึ้น

7 นักศึกษาระดับปริญญาเอกเข้าร่วมโครงการบรรณารักษ์พบนักวิจัย

8 สรุปผล การจัดบริการสนับสนุนการวิจัย (Research Support) พบว่า นักวิจัย อาจารย์ และนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาได้ให้ความสนใจใช้บริการ จากข้อมูลสถิติ พบว่ามีการเข้าใช้เว็บไซต์ Research Support จำนวน 35,176 ครั้ง (ปี2552) 85,619 ครั้ง (ปี 2553) 222,589 ครั้ง (ปี 2554) นักวิจัยเข้าร่วมกิจกรรม Liaison Librarians จำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่านักวิจัยที่เข้าร่วม กิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด(ดีเยี่ยม) จาก การประเมิน 5 ระดับ ในทุกปีที่ดำเนินการ

9 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
บริการสนับสนุนการวิจัย (Research Support) เป็น บริการที่เข้าถึงอาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาให้ได้รับแนวคิดใหม่ ๆ ในการแสวงหา แหล่งและสารนิเทศได้เพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ และทักษะไปต่อยอดใช้ในการสืบค้นสารนิเทศ อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการผลิตผล งานวิจัยที่มีคุณภาพ ในขณะเดียวกันอาจารย์สามารถ นำความรู้ไปสอนถ่ายทอดถึงนักศึกษา บรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติงานทั้งห้องสมุดกลางและห้องสมุด คณะ จึงควรหาวิธีการ เชิญชวนนักวิจัยให้มา ใช้บริการสนับสนุนการวิจัยให้มากที่สุดต่อไป

10 คำถาม?

11 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : บริการสนับสนุนการวิจัย ห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
เพื่อพัฒนาการบริการของห้องสมุดให้สนับสนุน มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยวิจัย (Research University) เราควรมีแนวทางการบริการอย่างใร ? อะไรคือ Best Practice ของการบริการนักวิจัย ?


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google