งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิจารณ์ พานิช นิสิตวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิจารณ์ พานิช นิสิตวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิจารณ์ พานิช นิสิตวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕
อวสานของครูสอน การเรียนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ ๒๑ 2 วิจารณ์ พานิช นิสิตวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕ บรรยาย ณ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

2 Education 3.0. Students … work on problems worth solving.
and teachers collaborate productively. engage in self-directed research. learn how to tell a good story employ tools appropriate to the task. learn to be curious and creative. James G. Lengel

3

4

5 การพัฒนาครูวิทย์ ๑๐ ประการ
เรียนโดยการปฏิบัติ มุ่งเป้าที่เนื้อหาจำเพาะ เน้น active learning ฝึกวิธีจัดการเรียนเป็นทีม วิถีปฏิบัติอื่นๆ ในสถาบัน ความเข้มข้นและระยะเวลา

6 การพัฒนาครูวิทย์ ๑๐ ประการ (๒)
เรียนโดยการปฏิบัติ ฝึกซ้ำๆ เน้นฝึกปฏิบัติ ฝึกสร้างบรรยากาศสบายกาย ใจ ฝึกตั้งคำถาม สร้างบรรยากาศสนใจใคร่รู้ เนื้อหาสาระเป็นประโยชน์ ทั้งต่อครู & นร. รู้จักหาวัสดุช่วยการเรียนรู้ ที่หาได้ในพื้นที่ ครูใหญ่ร่วมสนับสนุน

7 ปฏิรูปการพัฒนาครูวิทย์
ครูใหม่ และ ครูในประจำการ ร่วมมือกับ คณะครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ ม. พะเยา วิทยาลัยการศึกษา Dual Degree คณะ ว&ท มอ. ปน. Carl Wieman : พัฒนาการเรียนการสอนวิทย์ ระดับก่อนปริญญา

8 เปลี่ยน “ผลงาน” ของครู
ดูที่ “net gain” ของศิษย์ ครูที่ดี “net gain” ของเด็กเรียนอ่อน กับของเด็กเรียนเก่ง จะเกือบเท่ากัน ให้การตอบแทนผลงานที่เข้าเป้าในปีนั้น ผลงานเด่น ได้รางวัล ผลงานเด่น ๓ ปีซ้อน + เขียนเรื่องเล่าวิธีการ ได้เลื่อนวิทยฐานะ

9 การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เพื่อนักวิทยาศาสตร์ เพื่อคนทั่วไป วงการวิทยาศาสตร์ศึกษาไทย เอาใจใส่ประเด็นหลังน้อยไป

10

11 ปฏิสัมพันธ์ของคนทั่วไปกับวิทย์
มีหลาย “สาธารณชน” มีหลาย “วิทยาศาสตร์” อยู่กับเพียงบางส่วนของวิทยาศาสตร์ แตะบางมุม

12 เป้าหมายใหม่ของการเรียนวิทย์
สำหรับคนทั่วไป “มี ค. วิทยาศาสตร์” เปลี่ยนจาก รู้เนื้อหา สู่ ค้นหาเป็น “มีความคิดเชิงวิทยาศาสตร์” เปลี่ยนจากปฏิบัติการวิทย์ สู่ ประเมินความน่าเชื่อถือของการโฆษณา ปชส. ทางวิทย์ เป็น “เห็นคุณค่าของ ว.” เปลี่ยนจาก มีแนวคิดเชิงบวกต่อ ว. สู่ เข้าไปเกี่ยวข้องอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

13 การเรียนวิทย์สำหรับคนทั่วไป
แบบใหม่ ฝึกค้นหาและตีความ ค. วิทยาศาสตร์ สำหรับนำมาใช้ในชีวิตจริง ที่ซับซ้อน ฝึกประเมินความน่าเชื่อถือของการโฆษณา ปชส. ทางวิทย์ ให้ออกไปร่วมกิจกรรมทาง ว. ในสังคม เช่น พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ชมรมวิทย์, ให้เล่มเกมวิทยาศาสตร์, จัดการเรียนแบบ PBL

14 ไม่เน้นการสอน เน้นการเรียนรู้
เป้าหมายการสอน ให้เกิดการเรียนรู้ แบบ “รู้จริง” (mastery) แก่ศิษย์ที่ไม่เหมือนสมัยที่ อจ. เป็น นศ. ให้ศิษย์จบออกไปเป็นคนดี มีชีวิตที่ดีในสังคมยุค ศตวรรษที่ ๒๑ ไม่เน้นการสอน เน้นการเรียนรู้

15 ศิษย์แห่งศตวรรษที่ ๒๑ มีความรู้ผิดๆ
เรียนมาแบบ “ไม่รู้จริง” รู้ content มาก แต่ไม่รู้จริง มีเรื่องดึงดูดความสนใจมากเรื่อง ขาดสมาธิในการเรียน ขาดแรงบันดาลใจ ในชั้นเรียน นศ. มีความแตกต่างกันมาก

16 คุณค่าของมหา ฯ ในศตวรรษที่ ๒๑
ที่สำคัญที่สุดต่อศิษย์ ไม่ใช่สาระวิชา แต่เป็น ทักษะ (และฉันทะ)การเรียนรู้ (Learning Skills) รวม unlearn / delearn และ relearn ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ (21st Century Skills)

17 5 คำถามหลักในการออกแบบการเรียนรู้
ต้องการให้ นร. ได้ทักษะ และ ค. ที่จำเป็นอะไรบ้าง (ตรวจสอบเอกสารหลักสูตร หนังสือทักษะแห่งอนาคตใหม่ ฯลฯ)่ จัดการเรียนรู้อย่างไรให้ได้ทักษะเหล่านั้น รู้ได้อย่างไรว่าได้ ทำอย่างไร กับ นร. บางคนที่ไม่ได้ ทำอย่างไรกับ นร.บางคนที่เรียนเก่งก้าวหน้าไปแล้ว ปัญหาส่วนใหญ่ เกิดจากสอนมากเกินไป

18 ต้องการวิถีการเรียนรู้ใหม่
เรียนโดยลงมือทำ เพื่อให้เกิดทักษะ (Learning by Doing) สุดยอดทักษะ ๔ ประการ (๓ร ๑ว) : แรงบันดาลใจ/ไฟ (Inspiration Skills) เรียนรู้ (Learning Skills) ร่วมมือ (Collaboration Skills) วินัย (ในตน) (Self-Discipline Skills) เรียนโดยการลงมือทำเป็นทีม แล้วร่วมกันไตร่ตรองว่าได้เรียนรู้อะไร ต้องการเรียนอะไรต่อ/เพิ่ม

19 วิธีช่วยศิษย์ที่เบื่อเรียน
๕๐ เทคนิค สำหรับครู ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนรู้

20 7 R-Based Principles for Smart Teaching
Prior Knowledge K Organization Motivation Develop Mastery Practice & Feedback Student Development & Climate Self-directed Learner

21 ขั้นตอนการพัฒนาให้รู้จริง
ทำได้ ไม่รู้ตัว ทำได้ รู้ตัว ฝึกบูรณาการ ให้เข้ากับกาละเทศะ 1 2 3 4 ฝึกบูรณาการ ทักษะย่อย mastery ทำไม่ได้ รู้ตัว ทำไม่ได้ ไม่รู้ตัว จากหนังสือ How Learning Works : Seven Research-Based Principles for Smart Teaching เขียนโดย Susan A. Ambrose และคณะ

22 วงจรของการเรียนรู้แบบกำกับตนเอง
ประเมินชิ้นงาน ประเมินความสามารถ วางแผน ลงมือทำ ประเมิน ตรวจสอบ ปรับปรุง รู้เขา A รู้เรา ความเชื่อของ นศ. เกี่ยวกับ ความฉลาดและ การเรียนรู้ DC P Metacognition Skills

23 สร้างห้องเรียนกลับทาง
Flip the Classroom กลับทางห้องเรียน เรียนวิชาที่บ้าน ทำ “การบ้าน” ที่ห้องเรียน ใช้ห้องเรียนเพื่อการเรียนแบบรู้จริง (Mastery Learning)

24 Flipped Classroom & eLearning
MOOCs นิสิต/นร. เข้าถึง content เอง ครู/อจ. โค้ชการฝึกใช้ ค. ในสถานการณ์จริง (Authentic) เพื่อได้ทักษะเชิงซ้อน และ รู้จริง (Mastery) ต้องการ National eLearning Platform ดร. จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ & EGA

25 โค้ชด้วย EFA + FFB ครูมีทักษะ Embedded Formative Assessment
Formative Feed Back  Forward Thinking ครูมีทักษะ Coaching EFA & FFB Measure Annual Net Gain นิสิต/นร. ก็ทำเป็น Peer Coaching Peer Assessment Peer Feed Back

26 สรุป อวสานของครูสอน ครูมีคุณค่ามากขึ้น ทำประโยชน์ได้มากขึ้น
แต่ต้องไม่สอนอย่างเดิม ต้องใช้ “ตัวช่วย” เป็น เพื่อให้ศิษย์ได้เรียนแบบ Authentic บรรลุ Mastery ใน 21st Century Skills หัวใจคือ ๓ร ๑ว


ดาวน์โหลด ppt วิจารณ์ พานิช นิสิตวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google