งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชาคมอาเซียน กับการพัฒนาการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชาคมอาเซียน กับการพัฒนาการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชาคมอาเซียน กับการพัฒนาการศึกษา
เบญจลักษณ์ น้ำฟ้า ผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2 อาเซียน (ASEAN) Association for South East Asian Nations หรือ
ประชาคมประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

3 ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก
ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

4 ทำไมต้อง... ขับเคลื่อนอาเซียน
ทำไมต้อง ขับเคลื่อนอาเซียน

5 จุดกำเนิดของ ASEAN ปัจจัยทางการเมือง – กระบวนการให้ เอกราช/การปลดปล่อย
(decolonisation process) และสงครามเย็น ลงนามในปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 เริ่มแรก… จัดตั้งโดยประเทศสมาชิก ประเทศ The last four decades of ASEAN history is a story of mixed fortunes. While ASEAN has brought about peace and stability to Southeast Asia. We have gone through the decolonization process and the cold war. We have cordial relations with major powers of the world. However our regional integration has been sluggish. . 5

6 ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค;
วัตถุประสงค์สำคัญ: “เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม; ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค; เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ ” Brunei joined in January 1984, Viet Nam in July 1995, Laos and Myanmar in July 1997 and Cambodia in April 1999. Main Objectives (i) to accelerate economic growth, social progress and cultural development (ii) to promote regional peace and stability. And to maintain close and beneficial cooperation with existing international and regional organizations As stated in the Bangkok Declaration, the Founding Fathers of ASEAN desired “to promote regional cooperation in Southeast Asia in the spirit of equality and partnership and thereby contribute towards peace, progress and prosperity in the region. 6

7 การสร้างความเป็นภูมิภาค
จุดประสงค์ของการรวมตัวเป็นภูมิภาค ผลประโยชน์ร่วมกัน; สันติภาพและความปลอดภัย; อำนาจทางการเมือง & ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน; ภูมิภาคที่เข้มแข็ง / ศักยภาพในการแข่งขัน

8 การสร้างความเป็นภูมิภาค
วิธีการสร้างความเป็นภูมิภาค ลดหรือกำจัดอุปสรรคต่าง ๆ ; กระชับความร่วมมือ; ผสมผสานกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม เข้าด้วยกัน; ยอมรับและเห็นคุณค่าของความหลากหลายทางวัฒนธรรมของ แต่ละชาติ

9 ASEAN + 3 Japan (ญี่ปุ่น) ROK เกาหลีใต้ China (จีน)
The ASEAN+3 co-operation between ASEAN and China, Japan and South Korea, which started in 1997, has paid dividends. Co-opertion covers about 20 sectors, the most prominent being finance co-operation where the Chiang Mai. Initiative for bilateral swap arrangements is in place to assits needy countries in financial situations. Creative ways should be devised to utilize the massive financial reserves in East Asia to support ASEAN integration so that ASEAN can truly play the driver’s role in integrating East Asia

10 ASEAN External Relations
ASEAN Centrality ASEAN External Relations ASEAN+3 ASEAN The centrality of ASEAN must be based on, first and foremost, ine inner strength of the ASEAN community. It also depends not only on the form of ASEAN’s external engagement, but also its content. The quality of ASEAN’s leadership is key. EAS ASEAN at the Centre

11 ASEAN: ข้อมูลสำคัญ ประชากร 567 ล้านคน (2007) 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร
ศาสนาอิสลาม พุทธ คริสต์ และฮินดู ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Combined GDP) 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้โดยรวมจากการส่งออก US$ 765 billion ประเทศมุสลิมที่ใหญ่ที่สุด ประเทศคริสเตียนที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย Basic data: population 567 million, combined GDP US$1066 billion, combined exports US$ 765 billion. . Mainly middle class, with high purchasing power, half the size of China’s. Some of its members are the world’s top 5 most competitive economies. Stretches across three time zones. Bridges the Indian and Pacific Oceans. One out of every ten persons is Southeast Asian Abundant natural resource and skilled manpower.

12 ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน)
A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน วางกรอบการทำงาน การจัดตั้งสถาบัน และแนวทางกฎหมายของ ASEAN วัตถุประสงค์หลักของ ASEAN Charter -- สร้าง ASEAN ให้ ….. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น; เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น; และ ให้ความสำคัญต่อประชาชนมากขึ้น The most important point about ASEAN Charter is the determination to have a more rules based and legal way of doing things. This is a good signal for the economic integration of ASEAN. There will be more predictability and certainty of policy. As you all know, the ASEAN Charter was signed last November, and its full ratification is expected to be achieved in time for ASEAN Leaders to celebrate its entry into force at our next ASEAN Summit in Bangkok at the end of this year.

13 ASEAN Milestones 2007 การลงนามในกฎบัตรอาเซียนร่วมกันของผู้นำประเทศสมาชิก 2015 มุ่งสู่การสร้างชุมชนอาเซียน (ASEAN Community) ประกอบด้วย ชุมชนความปลอดภัยทางการเมืองอาเซียน ASEAN Political Security Community ชุมชนเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community ชุมชนเศรษฐสังคมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community Today ASEAN is in the process of community building based on three pillars : the ASEAN Security Community, the ASEAN Economic Community and the ASEAN Social – cultural Community. By 2015, before ASEAN turn 50, the leadership wants to have the ASEAN Community in place. Last year in Singapore ASEAN Charter and the ASEAN Economic Community blueprint were signed by Leaders We are working to have the blueprints for the other Three Community ready by the 14th ASEAN Summit in Dec. in Thailand

14 ASEAN Integration การสร้างอาเซียน

15 ASEAN Vision 2020 A Concert of Southeast Asian Nations
วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ A Concert of Southeast Asian Nations หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต A Partnership in Dynamic Development ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน A Community of Caring and Sharing Societies มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก An Outward-Looking ASEAN The problem of ASEAN is not we lack of visions, ideas, and action plans. In 1999, the leadership pursued an ASEAN VISION 2020 that expanded the vision of ASEAN to a concert of Southeast Asian Nations, outward looking, living in peace, stability and prosperity, bonded together in partnership, in dynamic development and in a community of caring societies. The problem of asean is we don’t have formal compliance mechanism and appropriate monitoring system.

16 Thailand’s Chairmanship of ASEAN
ความสำคัญ : ASEAN ได้กลับมาที่ ประเทศต้นกำเนิดอีกครั้ง การผลักดันกฎบัตรอาเซียน (The entry into force of the ASEAN Charter) ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการอาเซียน Being the birthplace of ASEAN, Thailand was honoured to be the first Chairman of ASEAN under the Charter. Our Chairmanship was highlighted by three important aspects, namely the entry into force of the ASEAN Charter, the progress in ASEAN community building with the endorsement of the ASEAN Political Community and the ASEAN Socio-Cultural Community Blueprints, and Dr. Surin Pitsuwan’s assumption of the ASEAN Secretary-General post. During the first year of his five-year tenure, Dr. Surin has been instrumental in steering ASEAN to be a better integrated, more efficient and more resilient regional organization.

17 Secretary-General (เลขาธิการอาเซียน)

18 ข้อท้าทายในการสร้างชุมชนอาเซียน Challenges for ASEAN Community Building
เพิ่มความตระหนักรู้ของชุมชนและความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกันของประชากรในประเทศสมาชิกอาเซียน การจัดให้มีกิจกรรมความร่วมมือของประเทศสมาชิกอาเซียน ที่ยั่งยืนและเพียงพอ 18

19 ข้อท้าทายในการสร้างชุมชนอาเซียน Challenges for ASEAN Community Building
การลดช่องว่างการพัฒนาของประเทศต่าง ๆ การเสริมสร้างให้มีสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง และอำนาจต่อรอง ในกลุ่มประเทศอาเซียน

20 ภารกิจการจัดการศึกษา
สพฐ. สพท. สถานศึกษา

21 อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
เด็ก: แรกเกิด-18 ปี เริ่ม: ร่าง 2522 รับรอง: 2532 ประเทศไทย: 12 ก.พ. 2535 ประเทศที่รับรอง: 191

22 อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
54 มาตรา 37 มาตรา ที่บัญญัติเกี่ยวกับเด็ก

23 United Nations' Convention on the Rights of the Child
(CRC) สิทธิเรื่องการอยู่รอด Survival rights การมีชีวิต และสิทธิที่จะได้รับการดูแลทางสุขภาพและการเลี้ยงดูอย่างดีที่สุด

24 United Nations' Convention on the Rights of the Child
(CRC) สิทธิด้านการพัฒนา Development rights สิทธิที่จะได้เล่นและพักผ่อน เข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม คือ การศึกษาทุกประเภทนั่นเอง ทั้งในและนอกโรงเรียน และมาตรฐานความเป็นอยู่ต่อการพัฒนา เป็นต้น

25 United Nations' Convention on the Rights of the Child
(CRC) สิทธิการคุ้มครอง Protection rights คุ้มครองจากการเลือกปฏิบัติ การกลั่นแกล้งรังแก หรือถูกทอดทิ้ง คุ้มครองเด็กที่ไม่มีครอบครัว เด็กลี้ภัย เป็นต้น

26 United Nations' Convention on the Rights of the Child
(CRC) สิทธิในการมีส่วนร่วม Participation rights สิทธแสดงความคิดเห็น ในเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็ก ให้ความสำคัญในทัศนะของเด็กอย่างเหมาะสม การมีบทบาทในชุมชน การรับข่าวสารที่เหมาะสม เป็นต้น

27 ท่านลองพิจารณารูปภาพต่อไปนี้ แล้วลองระบุว่าเป็นสิทธิเด็กในหมวดใด
1. การอยู่รอด 3. การปกป้องคุ้มครอง 4. การมีส่วนร่วม การพัฒนา

28

29

30

31 โรงเรียนของเรา ส่งเสริมสิทธิเด็ก อย่างมีประสิทธิภาพอย่างไร?
โรงเรียนของเรา ส่งเสริมสิทธิเด็ก อย่างมีประสิทธิภาพอย่างไร?

32 (การเรียนรู้อย่างมีความหมาย)
Active Learning (การเรียนรู้อย่างมีความหมาย) Child-Centred + Learning

33 Child Needs Learning Style Interests Strengths Favorites Limited
Family Economic Background

34 Active Meaningful Learning Participatory

35 การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
การบูรณาการ ความรู้ Integration การรับความรู้ Acquisition การประยุกต์ใช้ Application Dr. James Gallager

36 เน้น จดจำ/ทำตามตัวอย่างที่ได้รับ
การรับความรู้ (Acquisition) บรรยาย สาธิต การทดลองในห้องทดลอง (Lab) Slide วีดิทัศน์ อ่านหนังสือ ทำการบ้าน เน้น จดจำ/ทำตามตัวอย่างที่ได้รับ

37 เน้น ความเข้าใจ / ความคิดรวบยอด
การบูรณาการความรู้ (Integration) 1. Making Sense 2. Making Connection เขียนบรรยาย ความเข้าใจ วาดภาพอธิบายความคิด/ความเข้าใจ ทำ Mind Map/ Concept Map Graphic Review ทำงานกลุ่ม เน้น ความเข้าใจ / ความคิดรวบยอด

38 การประยุกต์ใช้ความรู้ (Application)
การแก้ปัญหา การเขียนรายงานเพื่อเสนอทางเลือก การถามคำถามที่นำไปสู่การประยุกต์ใช้ การวางแผน

39 สถานการณ์ปัจจุบัน การรับรู้ การประยุกต์ความรู้ การบูรณาการความรู้

40 สิ่งที่ควรจะเป็น การประยุกต์ความรู้ การบูรณาการความรู้ การรับรู้

41 กัลยาณมิตร ที่ปรึกษา พี่เลี้ยง ผู้อำนวยการเรียนรู้ ผู้กำกับ Coach ฯลฯ
บทบาทของครู ที่ปรึกษา พี่เลี้ยง ผู้อำนวยการเรียนรู้ ผู้กำกับ Coach ฯลฯ กัลยาณมิตร

42 ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
หลักสูตรเป็นหัวขบวน ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

43 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ความต้องการของท้องถิ่น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลาง สพฐ. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง - โครงสร้างหลักสูตร - เกณฑ์การวัดผลประเมินผล กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น สพท. เป้าหมาย/จุดเน้น สาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น + + การวัดประเมินผล ระดับท้องถิ่น หลักสูตรสถานศึกษา ส่วนที่สถานศึกษา เพิ่มเติม โรงเรียน ความต้องการของท้องถิ่น + แกนกลาง +


ดาวน์โหลด ppt ประชาคมอาเซียน กับการพัฒนาการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google