งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา รศ.พญ.จิตเกษม สุวรรณรัฐ 30 กรกฏาคม 2553

2 Plan: แผนปฏิบัติการด้านการวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
ยุทธศาสตร์ ผลักดันงานวิจัยชนิด R2R, Epidemiology, Medical education, prenatal diagnosis and intervention research สนับสนุนงานวิจัยที่เป็น multicenter ทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดยเน้นว่างานอะไรก็ตามที่ภาควิชาทำได้ดีในแต่ละเรื่องหรือทำเป็นแห่งแรกของประเทศต้องมีวิจัยกำกับเสมอ Action plan จัดสรรเวลาของอาจารย์สำหรับงานวิจัย สร้างบรรยากาศการวิจัยให้เข้มแข็ง ยกระดับงานวิจัยของแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน และแพทย์ประจำบ้านต่อยอด มุ่งเป้าตีพิมพ์ระดับนานาชาติ สนับสนุนการทำงานเป็นทีม ให้ทุนเริ่มต้นที่คล่องตัว จัดหาผู้ช่วยวิจัย พัฒนากลไกเพื่อยกระดับคุณภาพงานวิจัย ได้แก่ สถิติชั้นสูง การนำเสนอใน peer group ทั้งภายในและภายนอก การนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การติดตามความก้าวหน้า การผลักดันให้ขอทุนวิจัยภายนอก การเขียน manuscript ตัวชี้วัด จำนวนอาจารย์ที่ active งานวิจัย งานวิจัยที่ทำโดยทีม การนำเสนอผลงานวิจัยในเวทีนานาชาติ ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ และสำหรับ พชท/พจบ ต้องได้รับการตีพิมพ์ 100% ภายใน 2 ปี รางวัลผลงานวิจัย พชท พจบ พจบ ต่อยอด จำนวนทุนวิจัยจากภายนอกภาค/คณะ /มหาวิทยาลัย

3 PLAN: แผนการพัฒนา ผลักดันงานวิจัยทุกชนิดได้แก่ R2R, epidemiology, medical education, prenatal diagnosis and intervention research เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาหลัก สนับสนุนงานวิจัยที่เป็น multicenter ทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดยเน้นว่างานอะไรก็ตามที่ภาควิชาทำได้ดีในแต่ละเรื่องหรือทำเป็นแห่งแรกของประเทศต้องมีวิจัยกำกับเสมอ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถานบริการในพื้นที่ และแหล่งสนับสนุนทุนวิจัย

4 DO: การดำเนินการพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการผลิตงานวิจัย
สร้างบรรยากาศการทำวิจัยให้เข้มแข็ง Research meeting เดือนละ 1 ครั้ง 2. สนับสนุนและยกระดับงานวิจัยของแพทย์ใช้ทุนแพทย์ประจำบ้านให้มีคุณภาพสูง จัดอาจารย์ที่ปรึกษาดูแลตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น จัดเวทีนำเสนอ research proposal, progress report, oral presentation ( คณะฯ, ราชวิทยาลัยฯ) มีอาจารย์ที่เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาให้คำปรึกษา มีรางวัลสนับสนุนให้กับ พชท/พจบ ที่ได้รับรางวัล สนับสนุนให้ตีพิมพ์มุ่งเป้าระดับนานาชาติ 3. หน่วยเวชสถิติของภาควิชามีระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในสูตินรีเวช 4. จัดเจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน รับผิดชอบเกี่ยวกับงานวิจัยของอาจารย์และพชท/พจบ 5. ภาควิชาส่งเสริมการวิจัยกับองค์กรภายนอก ทั้งระดับประเทศและนานาชาติ RIS HPVTT and HPV VVAPO, Cancer epidemiology research program (CERP), Unit of infection and cancer (UNIC), Catalan Institute of Oncology, Barcelona, SPAIN CRCN Multicenter (HPV vaccine) ร่วมกับเวชศาสตร์เขตร้อน ม.มหิดล ภาคสูติฯจุฬา ม.เชียงใหม่ U. of Malaya (Malaysia)

5 DO: พัฒนากลไกเพื่อยกระดับคุณภาพงานวิจัย
สนับสนุนการเข้าอบรมสถิติชั้นสูง การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ ทั้งภายในและภายนอกคณะ การนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การผลักดันให้ขอทุนวิจัยภายนอก การเขียน manuscript เพื่อส่งตีพิมพ์ระดับนานาชาติ

6 Check: ผลการดำเนินงาน
เกณฑ์ สกว. เกณฑ์ SAR

7 ผลงานวิจัยตีพิมพ์ On going research รวม 74 เรื่อง ( อาจารย์ 59 , พชท.พจบ. 11, Fellow 1, พยาบาลและจนท. 3, เป็น Multicenter 9 )

8 ผลการประเมินคุณภาพงานวิจัย
โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.)

9 การประเมินคุณภาพงานวิจัย โดยสกว. ปี 2550-2551
รหัสบทความ ประเภทบทความ จำนวนบทความ 2550 2551 รวม 01 วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล Science Citation Index ของ Institute for Scientific Information (ISI) 10 6 16 02 วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลของ ISI และมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ของคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยของ สกอ. 5 11 27

10 ประเมินตามตัวชี้วัด I. Equivalent International Journal Papers / Faculty member II. Impact Factor / Faculty member III. Equivalent International Journal Papers IV. Impact factor

11 ผลการประเมินตามตัวชี้วัดเฉลี่ยระหว่าง ปี 2550-2551
ชื่อตัวชี้วัด (น้ำหนักดัชนี) ภาพรวมของสาขาวิชา ผลประเมิน mean max min SD คะแนน ระดับ TRF-index Rate 1. Equivalent international Journal papers/ faculty member (30%) 0.372 0.707 0.086 0.204 0.373 4 2.9 3 2. Impact factor/ faculty member (20%) 0.453 1.11 0.094 0.293 0.329 2 3. Equivalent International Journal papers (30%) 12.615 24.74 2.058 7.528 8.193 4. Impact factor (20%) 14.599 38.83 3.607 10.127 7.241

12 ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ (rate) ความหมาย ระดับ 5 Excellent ระดับ 4
Very good ระดับ 3 Good ระดับ 2 Fair ระดับ 1 To be improved ระดับ N/A Not applicable

13 เสนอโครงการเพื่อรับการสนับสนุนงบประมาณ
สกว. 40,000 บาท มหาวิทยาลัย 40,000 บาท

14 ผลการประเมินตามเกณฑ์ สกว. โดยคณะแพทยศาสตร์
ปี พ.ศ

15 KPI 1 KPI 2 4 2 KPI 3 KPI 4 4 4

16 KPI อื่นๆตามเกณฑ์ SAR

17 ร้อยละของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

18 SAR: score 1: 1-54,999; score 2: 55,000-79,999; score 3: > 80,000
เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ จากภายในและภายนอกสถาบัน ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ SAR: score 1: 1-54,999; score 2: 55,000-79,999; score 3: > 80,000

19 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนวิจัยจากภายในและภายนอกสถาบัน
SAR: Internal: score 1: 1-34%; score 2: 35-49%; score 3: > 50% External: score 1: 1-24%; score 2: 25-39%; score 3: > 40%

20 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงต่ออาจารย์ประจำ
SAR: score 1: 1-14%; score %; score 3: > 20%

21 จำนวนรางวัลที่ได้รับในการนำเสนอปากเปล่า ของพชท/พจบ/พจบ ต่อยอด

22 รางวัลที่ได้รับจากงานวิจัยของอาจารย์ ปี 2552
ผศ.นพ.จิตติ หาญประเสริฐพงษ์ Young Scientist Award Young Gynecologist Award

23 Strength and Weakness Strength Weakness
ภาควิชาฯ คณะแพทยศาสตร์ และ มหาวิทยาลัย สนับสนุนการทำวิจัยอย่างเต็มที่ มีกองทุนอย่างเพียงพอ มีความจำกัดเรื่องเวลา จัดสรรเวลาให้ทำวิจัยได้ ภาควิชามีระบบฐานข้อมูล electronic และรายงานประจำปีการบริการผู้ป่วยในทุกราย ตั้งแต่ปีพศ. 2532 อาจารย์รุ่นใหม่ยังขาดประสบการณ์ในการทำวิจัย จัดอาจารย์อาวุโสดูแลรุ่นเยาว์ จัดผู้ช่วยวิจัยในระยะเริ่มแรก ภาควิชาฯมียุทธศาสตร์และการดำเนินการที่ดี อาจารย์มีศักยภาพสูง หลายท่านมีเครือข่ายระดับนานาชาติ งบประมาณสนับสนุนจากคณะฯในการนำผลงานวิจัยเสนอในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ไม่เพียงพอที่จะดึงดูดให้อาจารย์ไปนำเสนอ

24 ACT:จะพัฒนาต่อไปอย่างไร?

25 แนวทางการพัฒนาต่อไป ผลักดันต่อเนื่องตามยุทธศาสตร์ภาควิชาฯ
มาตรการเพิ่มเติม กำหนด theme งานวิจัยของภาควิชาฯ กำหนดข้อตกลงบทบาทระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษากับแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านต่อยอด

26 1. กำหนดทิศทางงานวิจัยของภาควิชาฯ
การลดอัตราตายมารดาและทารกในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ การวินิจฉัยก่อนคลอดเพื่อลดอัตราทารกพิการและโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง การควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก การวินิจฉัยและการรักษาพยาบาลความก้าวหน้าเชิงลึกในด้าน reproductive medicine และ oncology

27 2. บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาเรื่องงานวิจัย
มีข้อตกลงระหว่างอาจารย์และพชท/พจบ/พจบ ต่อยอด มุ่งเน้นระดับนานาชาติที่มี Impact factor สูง

28 ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีงานวิจัยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น ผลงานวิจัยได้รับตีพิมพ์ในวารสารที่มี impact factor สูง มากขึ้น ผลการประเมินคุณภาพงานวิจัยตามเกณฑ์ สกว. เพิ่มขึ้นเป็นระดับ 4 ภายในปี 2556

29 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google