งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเขียนรายงาน สถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเขียนรายงาน สถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเขียนรายงาน สถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัด
ผศ. ดร. จิตติ มงคลชัยอรัญญา คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2 ความเชื่อมโยงของงานต่างๆ
การทำแผนสวัสดิการ สังคมระดับจังหวัด รายงานสภาวะการณ์ ทางสังคมระดับจังหวัด ภาคส่วนต่างๆจังหวัด มีส่วนร่วมทำแผน มีข้อมูลด้านสวัสดิการ สังคมระดับจังหวัด

3 แบ่งปัน “ความสำราญ” กลุ่มแรก อ่านรายงานสถานะการณ์ด้านมลพิษ
กลุ่มที่สอง อ่านรายงานภาวะสังคม (หน้า 3-9) กลุ่มที่สาม วิเคราะห์ภาพรวมรายงานภาวะสังคม ใช้เวลา 15 นาที หากมีประเด็นใดที่น่าสนใจ บันทึกใส่สมุดตนเองไว้.....กันลืม

4 สรุปบทเรียนที่ได้จากรายงานมลพิษ
ได้ความรู้ว่ามลพิษเกิดจากมนุษย์ และการแก้ไขปัญหาทำได้ยากขึ้น ได้ความรู้เรื่องรีไซเคิล (แก้ปัญหา) มลพิษเกิดได้ทุกที่ มีหลากหลาย ทั้งที่เห็นชัดและไม่ชัด ตระหนักว่าเราต้องสนใจเรื่องนี้ให้มากขึ้น คิดว่าสารเคมีเป็นอันตรายมาก ประเทศยังขาดมาตรการรับมือกระตุ้นจิตสำนึกคนได้ เกิดคำถามว่าปัญหาเกิดจากการพัฒนาที่ผิดพลาดหรือไม่ การจัดหมวดหมู่ในตอนท้ายไม่ชัด อ่านยาก มีศัพท์เฉพาะ/วิชาการแยะ ไม่น่าอ่าน ไม่เร้าใจ

5 สรุปบทเรียนที่ได้จากรายงานภาวะสังคม
เนื้อหาคล้ายมิติความมั่นคงของมนุษย์ (แต่ไม่เหมือน) บางเรื่องตรงความสนใจของเรา บอก 4 มิติที่เชื่อมไปสู่คน, เนื้อหาชัดเจน มีสถิติ + อ่านค่า, รายงานที่ไม่ถูกนำมาแปลงสู่ภาคปฏิบัติไม่ดี ได้แง่คิดว่าการศึกษาไม่สอดคล้องกับตลาดแรงงาน เห็นว่าดี แยกแยะประเด็นชัด มีตัวเลข แผนภูมิ ชาร์ท ไม่สั้น ไม่ยาว นำเสนอให้เข้าใจง่าย มีการสรุปตอนท้าย ทิ้งประเด็นให้คนไปทำต่อ หน่วยงานต่างๆเอาไปใช้ได้ ชาวบ้านอ่านตารางไม่เข้าใจ, ไม่แน่ใจว่าคนส่วนใหญ่จะได้อ่านหรือไม่ (ข้อมูลดี พวกเราใช้ได้) ได้แง่คิดเรื่องอื่นๆ (โยงไปถึงงานตนเอง) และเกิดคำถามอีกหลายข้อ

6 สรุปภาพรวมรายงานภาวะสังคม
เนื้อหาทำให้รู้ว่าสังคมยังวิกฤต มีรายงานเปรียบเทียบกับต่างประเทศ MDG แต่เนื้อหาแต่ละบทไม่สอดคล้องกัน รูปแบบน่าสนใจ เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลน่าเชื่อถือ (มีแหล่งอ้างอิง) มีการจุดประเด็น (ประเด็นหลักประจำไตรมาส) เนื้อหาในประเด็นหลักยังไม่ครบถ้วน น่าสนใจ สรุปกว้างๆ สรุปเรื่องของ 4 มิติ บอกแหล่งข้อมูล เป้าหมายการพัฒนา มีตาราง สถิติแสดงข้อมูล แผนภูมิ มีการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างปี ระหว่างกลุ่ม เปรียบเทียบผลกับต่างประเทศ มีข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ชี้เป้า บอกว่าอันไหนน่าห่วง บอกการแก้ไข บอกทิศทางในอนาคต ดี คนเขียนเก่ง

7 สรุปกรณีตัวอย่าง: รายงานภาวะสังคมฯ
มีการเปรียบเทียบสถานการณ์ไทยกับต่างประเทศ (MDG: เพื่อสื่อสารกับประเทศอื่นๆ และบอกมิติอื่นๆ เช่น การศึกษา โครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้เห็นสถานการณ์ต่างๆ) เป็ยการรายงานทุกไตรมาส มิติที่นำเสนอ (คุณภาพคน, ความมั่นคงทางสังคม, ความเป็นอยู่และพฤติกรรมของคน, สิ่งแวดล้อม) มีเรื่องเด่นประจำฉบับ (ซึ่งเราอาจมีบทความที่เขียนจากข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยย่อย/เฝ้าระวัง) แสดงตัวชี้วัด พร้อมแหล่งข้อมูล สไตล์การเขียน / การนำเสนอข้อมูลที่น่าสนใจ ต้องเน้นกลุ่มเป้าหมายหลักว่าคือใคร เพื่อกำหนดวิธีการนำเสนอ ระดับความยากง่าย ประเภทข้อมูล

8 เนื้อหารายงานภาวะสังคมฯฉบับอื่นๆ
คุณภาพคน (กำลังแรงงาน การจ้างงาน ว่างงาน) ความมั่นคงทางสังคม (หลักประกันชีวิต, ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน, อุบัติเหตุ, รายได้/ออม) ความเป็นอยู่และพฤติกรรมของคน (บุหรี่, ออกกำลังกาย, การคุ้มครองผู้บริโภค, เยาวชนกับอินเตอร์เนต, สถานพยาบาล, ความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย) สิ่งแวดล้อม (สารเคมี, อาหารปนเปื้อนสารพิษ, การจัดการขยะ, ก๊าซชีวภาพ)

9 คำถามหลักก่อนเขียนรายงานฯ
ทำไปทำไม ทำให้ใครอ่าน ใครเป็นคนทำ รายงานเรื่องอะไร รายงานอย่างไร ที่ไหน รายงานเมื่อใด บ่อยแค่ไหน

10 ระดับของวัตถุประสงค์การเขียนรายงานฯ
ทำตามหน้าที่/ ภารกิจ โอกาสที่จะสร้างผลงาน / สองขั้น / โบนัส ตัวเองสนใจ ชอบทำ บอกสถานการณ์ทางสังคมให้สังคมรับรู้ เผยแพร่ข่าวสาร เครื่องมือช่วยให้ผู้บริหารวางแผน ก่อให้เกิดการบูรณาการทำงานร่วมกัน สร้างเครื่องเตือนภัยให้คนในพื้นที่ แก้ไขปัญหาสังคม ฯลฯ

11 นิทานธรรมะ สร้างสรรค์ สังคมให้น่าอยู่ ทำงาน กวาด

12 ตอบคำถามชิงรางวัล คำตอบ คือ........................ คนกวาดถนนสีเหลือง
คนกวาดถนนคนไหนมีความสุขที่สุด ครอบครัวคนกวาดถนนคนไหนมีความสุขที่สุด หัวหน้าน่าจะรักใครมากที่สุด คำตอบ คือ คนกวาดถนนสีเหลือง

13 ประโยชน์จากรายงานฯ เผยแพร่ผลงานเรา
ชี้เป้าหมายในการดำเนินงานแก้ไขปัญหา, ช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจ, เพื่อการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม สร้างฐานและระบบข้อมูล ให้ส่วนราชการต่างๆ ประชาชน เอกชน สื่อมวลชน สถาบันการศึกษาเข้าใจ “กระจกเงา” สะท้อนผลงานของภาคส่วนต่างๆ สร้างเครื่องเตือนภัย พัฒนาเครื่องมือสร้างจิตสำนึกทางสังคม ปูทางไปสู่สังคมแห่งความรู้ (knowledge based society)

14 ทำรายงานฯให้ใครอ่าน ใช้สื่ออะไร บ่อยแค่ไหน ???
ทำรายงานฯให้ใครอ่าน ใช้สื่ออะไร บ่อยแค่ไหน ??? กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ประชาชน เอกชน (เพราะเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โดยตรง, สร้างจิตสำนึก, กระตุ้นการมีส่วนร่วม, สร้าง”เกราะ”ป้องกันตนเอง) และเป็นกำลังให้การทำงานของเราเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพมากขึ้น และควรใช้ประโยชน์จาก www. เพราะค่าใช้จ่ายต่ำ แนวโน้มการใช้สูงขึ้น และมีคนเข้าถึงได้กว้างขวาง ในตอนต้นอาจตั้งเป้าหมายทำรายงานปีละหนึ่งฉบับก่อน สื่อมวลชน สถาบันการศึกษา เป็นกลุ่มเป้าหมายรองลงไป หากต้องทำรายงานส่งต้นสังกัด และ/หรือผู้บริหารระดับจังหวัดก็อาจจะทำเป็นเอกสารใหม่ และเพิ่มข้อมูลตามที่หน่วยงานต้องการ

15 ภาพรวมของการทำรายงาน
inputs output outcomes 1 2 process

16 Inputs ปัจจัยนำเข้า ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ อุปกรณ์ เครื่องมือ งบประมาณ ค่าใช้จ่าย ปริมาณและคุณภาพของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงาน

17 Process กระบวนการ (1) วิธีรวบรวมข้อมูล วิธีการบันทึก วิธีการประมวล
วิธีการวิเคราะห์ วิธีการเขียน

18 Output ผลผลิต (รายงานสถานการณ์)
เนื้อหาของรายงาน รูปแบบ และแบบฟอร์ม รวมทั้ง กราฟ ไดอาแกรม ภาษา สีสัน รูปแบบการนำเสนอ การดึงดูดความสนใจ การใช้รูป ฯลฯ การเข้าถึงข้อมูลที่สะดวก รวดเร็ว

19 Process กระบวนการ (2) วิธีระดมความร่วมมือ/ การประสานงาน
วิธีระดมความคิด เรื่อง การใช้ประโยชน์ วิธีการทำแผน โครงการ วิธีการจัดการโครงการแก้ไขปัญหา

20 Outcomes ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชน กลุ่มองค์กรพันธมิตรต่างๆเกิดความตระหนัก จิตสำนึก เรื่องปัญหาสังคมที่ส่งผลต่อความมั่นคงของมนุษย์ในจังหวัดนั้นๆ เกิดแผนงาน โครงการป้องกัน แก้ไขปัญหาต่างๆโดยภาคส่วนต่างๆในจังหวัด เกิดโครงการวิจัย กำหนดประเด็นการเฝ้าระวัง คุณภาพชีวิตของคนดีขึ้น คนไทยมีความมั่นคงมากขึ้น

21 เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหา
แยกแยะประเด็น/ จุด/ เรื่อง/ องค์ประกอบ/ ออกเป็นชิ้นๆ ส่วนๆ หรือเป็นระบบย่อยแต่ละระบบ เปรียบเทียบกับเรื่องเดียวกันในมิติของเวลา และพื้นที่ ที่แตกต่างกัน เปรียบเทียบในเชิง (size, means, function, degree of impact) หาความเหมือนบนความต่าง และอธิบายให้ได้ หาความต่างบนความเหมือน และอธิบายให้ได้

22 แบ่งกลุ่มอภิปราย ระบุสภาพข้อเท็จจริง-หัวข้อ ลักษณะปัญหาที่ควรนำเสนอ
แนวทางเสนอผล (การวิเคราะห์) แนวโน้ม เขียนข้อเสนอแนะ (ให้สมมติปัญหาขึ้นมาเอง) ตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับรายงาน (ตัวที่ 1-38-บ, 1-25-พ ตัวไหนที่ควรนำไปใช้รายงานฯ) ตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับรายงาน (ตัวที่ บ, พ ตัวไหนที่ควรนำไปใช้รายงานฯ)

23 ข้อมูลสภาพทั่วไปที่ควรปรากฎใน www. รายงานฯ
“บอกตัวตน ระบุเอกลักษณ์ ชี้ให้เห็นทุนทางสังคม /สาเหตุของปัญหา แบบสั้นๆ ได้ใจความครบ” หากจะบอกรายละเอียดอื่นให้ใช้วิธีโยงกับ www. อื่นๆ

24 แนวทางการเลือกปัญหาใส่ในรายงาน
เป็นปัญหาเร่งด่วน มีผลกระทบสูง มีผลเชื่อมโยงเป็นลูกโซ่ เป็นปัญหาที่คนในจังหวัดสนใจ (มิใช่เรา หรือหน่วยงานสนใจ) มีข้อมูลถูกต้อง ทันสมัย มีแหล่งอ้างอิง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด สอดคล้องกับกระแส ช่วงเวลา

25 วิเคราะห์แนวโน้ม เลือกประเด็นสำคัญ (ปัญหา จุดแข็ง) ยึดกลุ่มเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน เช่น เยาวชน หรือเด็ก เลือกหลักฐานแสดงให้เห็นปัญหาที่รุนแรงขึ้น เน้นการป้องกันปัญหา เสนอข้อมูลของปีต่างๆ ฟันธง : เพิ่ม-ลด ดีขึ้น-แย่ลง มากขึ้น-น้อยลง เชื่อมโยงกับปัญหาอื่น

26 ข้อเสนอแนะ ให้ผู้อ่านเห็นแนวทางที่ตนเองจะไปดำเนินการได้เอง
ไม่ควรแนะแนวทางในการแก้ไขที่แคบ ใช้ภาษาราชการ เพราะจะไม่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคส่วนอื่นๆ บอกหลักการทำงาน เช่น การมีส่วนร่วม จริยธรรม สนับสนุนองค์กรในชุมชนมาช่วยกัน เสนอแนวทางในหลายๆมิติ

27 ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ตัวชี้วัดบางตัวบอกสถานการณ์ทั่วไป บอกปัญหา สาเหตุ ศักยภาพ หากเลือกตัวใดต้องมีคำอธิบายได้ว่า “why and why not” หาข้อมูลได้สะดวกไหม บอกอะไรชัดเจนหรือไม่ สนองวัตถุประสงค์อะไร

28 กรอบในการเขียนรายงาน
สภาพข้อเท็จจริง (เลือกเรื่องที่สำคัญ, กำหนด Key word, เชื่อมกับ www. อื่นๆ) ปัญหาที่ควรนำเสนอ (เด่น, มีผลกระทบสูง, ครอบคลุม, มีข้อมูล) พร้อมบอกสาเหตุ การวิเคราะห์แนวโน้ม (เลือกประเด็นสำคัญ ฟันธงว่าจะเพิ่ม ลด) ข้อเสนอแนะ (มาตรการเชิงบวก, ครอบคลุมมิติต่างๆ, รวบรัดได้ใจความ, เสนอหลักการ ปรัชญา อุดมการณ์) ตัวชี้วัดความมั่นคงฯ (ไม่ต้องใช้ทุกตัว บ้างบอกปัญหา สาเหตุ, ศักยภาพ, สถานการณ์ทั่วไป) และต้องใช้หลักฐานอื่นๆด้วย

29 ประเภทตัวชี้วัด Inputs Process Output Outcome Efficiency Effectiveness
Growth Satisfaction Gains # ระดับของตัวชี้วัด (บุคคล, ครอบครัว, กลุ่ม, ชุมชน/หมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด, ภาค, ประเทศ)

30 รายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัด
ไม่จำเป็นต้องยึดรูปลักษณ์ หรือรูปแบบเดียวกัน แต่ควรคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายหลัก วัตถุประสงค์การจัดทำ ความพร้อมของตนเองเป้นสำคัญ ควรใช้จินตนาการ และความคิดริเริ่มใหม่ๆ ต้องอยู่บนฐานของข้อมูล ข้อเท็จจริง ยิ่งมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วนเท่าใด ก็ยิ่งบรรลุวัตถุประสงค์มากเท่านั้น ทำเต็มตามความสามารถ และเมื่อทำได้เท่าใดก็เท่านั้น ดีกว่าไม่ทำ หรือทำแบบขอไปที

31 ประเด็นท้าทาย ข้อมูลที่ต้องการมีอยู่แล้วหรือไม่
เจ้าของข้อมูลพร้อมให้หรือไม่ หากไม่มีข้อมูลจะเก็บเพิ่มเติมได้อย่างไร โดยใคร จะสร้างฉันทามติเนื้อหารายงานได้อย่างไร จะ “สร้างความเข้าใจและจูงใจ” ส่วนราชการ องค์กรเอกชน ภาคประชาชน ได้อย่างไร จะใช้ประโยชน์จากรายงานได้อย่างไร

32 การทำแผน / โครงการทางสังคม
ต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับสถานการณ์นั้นๆ เช่น ลักษณะปัญหา พื้นที่ ความรุนแรง สาเหตุ ศักยภาพในพื้นที่ แนวทางที่ใช้แก้ไขในอดีต ฯลฯ ต้องเห็น scenario ในการขจัดปัญหานั้นๆให้ลดน้อยลง หรือ หมดสิ้นไป ต้องมีประสบการณ์ / แนวคิด ทฤษฎีในการดำเนินโครงการเพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหานั้นๆ ต้องเชื่อมโยงโครงการแก้ไขปัญหานั้นๆกับนโยบาย / ยุทธศาสตร์ระดับต่างๆได้

33 บางครั้งธรรมชาติก็ให้แง่คิดที่มีคุณค่าแก่การดำรงชีวิตมนุษย์
แต่ก็มีบางครั้งเหมือนกันที่เรามองข้ามตัวอย่างดีๆที่ธรรมชาติมีให้ เพียงแค่เราหยุดคิดตรึกตรองดีๆ บางทีนกตัวเล็กๆก็ให้ตัวอย่างที่มีค่ามากมาย “ตัวอย่างที่ดี มีค่ายิ่งกว่าคำสอน” เราเคยสังเกตกันบ้างไหมว่าทำไม เวลานกย้ายถิ่นตามฤดูกาล มันมักจะบิน เกาะฝูงกันเป็นรูปตัววี

34 ลองถามตัวคุณซิ จะสร้างทีมงานคุณอย่างไรดี
Good team work! ลองถามตัวคุณซิ จะสร้างทีมงานคุณอย่างไรดี

35 ให้กำลังใจกับนกตัวหน้า ให้เกิดความฮึกเหิม และเหนื่อยช้าลง
มนุษย์นับว่าโชคดีกว่านกมาก ที่บางคนมีโอกาสได้ศึกษาวิชาฟิสิกส์ ในห้องเรียนมาแล้ว และบางคนก็อาจได้เคยศึกษาหลัก Aerodynamics มาแล้วด้วย... นกเหล่านี้ไม่เคยเรียน วิชา Aerodynamics อะไรมาหรอก เพียงแต่มันมีสัญชาติญาณ ของการอยู่ร่วมกัน การมีเป้าหมายร่วมกัน พวกมันต้องการที่จะถึงจุดหมายให้เร็วที่สุด และเหนื่อยน้อยที่สุด ฉะนั้นมันจึงต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ต้องทำงานเป็นทีม และรู้จักการให้กำลังใจเพื่อนในทีม เมื่อบินไปนานๆ ตัวหน้าเริ่มหมดแรง ตัวรองลงไปก็จะเปลี่ยนขึ้นมาทำหน้าที่ตัวหน้า แทนกันไปเรื่อยๆ และระหว่างที่บินนั้นตัวท้ายลงไปจะส่งเสียงร้องตลอดเพื่อเป็นการ ให้กำลังใจกับนกตัวหน้า ให้เกิดความฮึกเหิม และเหนื่อยช้าลง ที่เป็นเช่นนี้เพราะตามหลัก Aerodynamics แล้ว มันเป็นการผ่อนแรงกัน โดยแต่ละ ตัวที่อยู่ต่อจากตัวหน้าจะต้านลมตัวละครึ่ง ยกเว้นตัวหน้าตัวเดียวที่รับแรงต้านเต็มที่ ทำให้เหนื่อยน้อยลง และบินได้เป็นเวลานาน


ดาวน์โหลด ppt การเขียนรายงาน สถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google