งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์ผลกระทบทางสุขภาพจากการใช้สารเคมีเกษตรในประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์ผลกระทบทางสุขภาพจากการใช้สารเคมีเกษตรในประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์ผลกระทบทางสุขภาพจากการใช้สารเคมีเกษตรในประเทศไทย
นพ.พิบูล อิสสระพันธุ์ พบ., วทม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ), วุฒิบัตรโสต ศอ นาสิก, อนุมัติบัตรอาชีวเวชศาสตร์ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 

2 สารกำจัดศัตรูพืชคือสารที่ใช้:
ป้องกัน ทำลาย หรือควบคุม ศัตรูพืช พาหะของโรคของมนุษย์หรือสัตว์ (เพลี้ย หนอน ยุง หอยเชอร์รี่) พืชหรือสัตว์ซึ่งรบกวนการผลิต การแปรรูป ฯลฯ อาหาร สินค้าเกษตร ผลิตภัณฑ์ไม้ (เช่นสารอบข้าวเมทธิลโบรไมด์ ฟอสฟีน) แมลงในหรือบนร่างกายของสัตว์ (เหา เห็บ หมัด) ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช (ฮอร์โมน) สารที่ทำให้ใบไม้ร่วง (เอเจนต์ ออเร้นจ์) ป้องกันผลไม้สุกก่อนกำหนด ดูดความชื้น ป้องกันการเสื่อมสภาพ ย่อจาก International Code of Conduct on the Distribution and Use of Pesticides. FAO:ftp://ftp.fao.org/docrep/fao/009/a0220e/a0220e00.pdf . FAO

3 อย่ามองแยกส่วน ควรดู 4 สิ่งที่คุกคามคนไทย เสมอ
โลหะหนัก เช่นตะกั่วจากแหล่งน้ำ /การทำงาน ปรอทในสัตว์น้ำ ขยะทั่วไปและขยะพิษ มลภาวะทางอากาศ สารกำจัดศัตรูพืช

4 อัตราการพบสารพิษในระดับเสี่ยงเพิ่มขึ้นจาก 2540 ถึง 2550
ปี 2550 สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ สำรวจการสัมผัสสารกำจัดศัตรูพืช โดยใช้แถบกระดาษสำหรับตรวจเลือด 89,376 ราย เสี่ยงและไม่ปลอดภัย 34,428 ราย (38.52%) 15.96 16.35 13.38 18.88 24.19 29.41 27.6 38.52 10 20 30 40 2540 2542 2544 2546 2548 2550 ร้อยละ ?? ? . ? .

5 การนำเข้าสารกำจัดศัตรูพืช(เชิงปริมาณ) ปี 2548-2552
เป็นจำนวนถึง 520,312 ตัน เท่ากับขวดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 46 เมตร สูงเท่าตึกใบหยก2 (304 เมตร) ตัวเลขจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (

6 การประเมินความเสี่ยง เกษตรกรจากสารกำจัดศัตรูพืช: ความเป็นมา
ปี สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ จัดทำโครงการ “เกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส” ในโรงพยาบาลประจำตำบล โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน บางแห่ง แนวทาง: สัมภาษณ์และตรวจเลือดในรายที่เสี่ยง

7 สารกำจัดศัตรูพืช เอนไซม์ควบคุมระดับสาร สารนำประสาท ทำงานปกติ
z สารกำจัดศัตรูพืช เอนไซม์ที่มีสารกำจัดศัตรูพืชเกาะจนทำงานไม่ได้

8 ความผิดปกติของสมองในเด็กที่รับสารกำจัดศัตรูพืชคลอร์ไพริฟอสตั้งแต่ในครรภ์ในระดับไม่สูงมาก (บริเวณที่เป็นจุดแดง) Brain anomalies in children exposed prenatally to a common organophosphate pesticide Virginia A. Rauha,b,1,  Frederica P. Pererab,c,  Megan K. Hortonb,d,  Robin M. Whyattb,c,  Ravi Bansale, Xuejun Haoe,  Jun Liue,  Dana Boyd Barrf,  Theodore A. Slotking, and  Bradley S. Petersone,h Author Affiliations Edited by James L. McGaugh, University of California, Irvine, CA, and approved March 30, 2012 (received for review February 27, 2012) Abstract Prenatal exposure to chlorpyrifos (CPF), an organophosphate insecticide, is associated with neurobehavioral deficits in humans and animal models. We investigated associations between CPF exposure and brain morphology using magnetic resonance imaging in 40 children, 5.9–11.2 y, selected from a nonclinical, representative community-based cohort. Twenty high-exposure children (upper tertile of CPF concentrations in umbilical cord blood) were compared with 20 low-exposure children on cortical surface features; all participants had minimal prenatal exposure to environmental tobacco smoke and polycyclic aromatic hydrocarbons. High CPF exposure was associated with enlargement of superior temporal, posterior middle temporal, and inferior postcentral gyri bilaterally, and enlarged superior frontal gyrus, gyrus rectus, cuneus, and precuneus along the mesial wall of the right hemisphere. Group differences were derived from exposure effects on underlying white matter. A significant exposure × IQ interaction was derived from CPF disruption of normal IQ associations with surface measures in low-exposure children. In preliminary analyses, high-exposure children did not show expected sex differences in the right inferior parietal lobule and superior marginal gyrus, and displayed reversal of sex differences in the right mesial superior frontal gyrus, consistent with disruption by CPF of normal behavioral sexual dimorphisms reported in animal models. High-exposure children also showed frontal and parietal cortical thinning, and an inverse dose–response relationship between CPF and cortical thickness. This study reports significant associations of prenatal exposure to a widely used environmental neurotoxicant, at standard use levels, with structural changes in the developing human brain. brain structure  neurotoxicity Footnotes

9 ผลต่อสุขภาพระยะสั้น ผิวหนังอักเสบ มึนงง เวียนหัว คลื่นไส้ อาเจียน
หัวใจเต้นช้า หวิว วาบหวาม ลำไส้บิดตัว ปวดท้อง กล้ามเนื้อกระตุก เกร็ง เหงื่อซึม น้ำลายฟูมปาก น้ำตาไหล ซึมลง หมดสติ โคม่า ตับวาย ไตวาย ปอดบวมน้ำ ปอดเป็นผังผืด เสียชีวิต

10 ผลระยะยาวที่พบในงานวิจัย
การพัฒนาการของสมองผิดปกติ ปอดเป็นผังผืด หงุดหงิด งุ่นง่าน ซึมเศร้า ความจำเสื่อม โรคขอบระบบประสาทส่วนปลาย โดยเฉพาะที่ขา เช่นชา เกร็ง ตะคริว อ่อนแรง ความผิดปกติของทารก เช่นสมองเสื่อมแต่กำเนิด ผิวหนังแข็ง Scleroderma

11 มีจังหวัดส่งข้อมูลมา 74 จังหวัด
ปี 54 จำนวนเกษตรกรได้ตรวจเลือด เสี่ยงและไม่ปลอดภัย ปกติและปลอดภัย 533,524 173,243 360,281

12 ผลการตรวจเลือดประชาชนทั่วไป
ปี 54 ผลการตรวจเลือดประชาชนทั่วไป ประชาชนจำนวน เสี่ยงและไม่ปลอดภัย ปกติและปลอดภัย 99,283 35,949 63,334

13 ผลการตรวจเลือดปี 2555 มีรายงาน 16 จังหวัด
ปี 55 ค่าที่ถูกต้อง ผลการตรวจเลือดปี 2555 มีรายงาน 16 จังหวัด เกษตกรที่ได้ตรวจเลือด เสี่ยง & ไม่ปลอดภัย ปกติ & ปลอดภัย 152,846 46,016 106,830 สไลด์นี้แก้ตัวเลขแล้ว ปทุมธานี,จันทบุรี,ฉะเชิงเทรา,สุพรรณบุรี,บุรีรัมย์, สุรินทร์,กาฬสินธุ์,ยโสธร,ศรีสะเกษ,สุโขทัย, พิษณุโลก,เพชรบูรณ์,ลำพูน,แม่ฮ่องสอน,ภูเก็ตและสตูล

14 ตัวอย่างแบบทดสอบความเสี่ยง

15

16 ยิ่งสัมผัสยิ่งเสี่ยงจริงไหม?
ตัวอย่างครูสองท่านที่เป็นชาวนาด้วย

17 ยิ่งมีพฤติกรรมเสี่ยง ผลการตรวจเลือดยิ่งผิดปกติ
พ่นสารเคมีฯ โดย ไม่ใส่หน้ากาก ไม่ใส่ถุงมือ, ไม่ใส่รองเท้าบู้ต หลังพ่น ไม่เปลี่ยนเสื้อผ้า, ไม่อาบน้ำ, ไม่ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การเป็นผู้บริโภค เป็นพฤติกรรมเสี่ยงเช่นเดียวกัน คนปอดหายแห่งแซออ

18 ผลทางผิวหนัง ภาพจากความเอื้อเฟื้อของ นพ.ประกิจ

19 ผลเรื้อรัง Scleroderma?
ภาพจากความเอื้อเฟื้อของ นพ.ประกิจ

20 สถิติจังหวัดที่มีอัตราป่วยจากสารกำจัดศัตรูพืช 2554 สูง 10 อันดับแรก
ปี 54 จังหวัด ผู้มีสิทธิประกันสุขภาพฯ จำนวน อัตราป่วยต่อผู้มีสิทธิแสนคน ตาก 434,487 205 47.182 จันทบุรี 413,617 176 42.551 อุทัยธานี 253,864 105 41.361 ชัยนาท 252,521 103 40.789 อ่างทอง 195,253 78 39.948 สิงห์บุรี 151,009 60 39.733 สุพรรณบุรี 669,723 249 37.180 กาญจนบุรี 634,373 232 36.572 แม่ฮ่องสอน 201,782 73 36.178 กำแพงเพชร 552,899 183 33.098

21 จังหวัดที่พบอัตราป่วยสูง
ปี 54 จังหวัดที่พบอัตราป่วยสูง

22 กราฟแสดงอัตราการป่วยต่อแสนของผู้มีสิทธิประกันสุขภาพ เปรียบเทียบ 5 ปี
ไม่ได้ระบุ สารกำจัดวัชพืชและเชื้อรา สารกำจัดแมลงอื่น

23 จำแนกการเจ็บป่วยตามโรคร่วม(≈สาเหตุ) เฉพาะที่หาสาเหตุได้ 6,885 คนจาก 7,395 คน
ปี 54

24 ใครๆ ก็ซื้อสารกำจัดศัตรูพืชมาใช้ได้

25

26 เคยมีชาวนาต้องจ่ายเงินให้ผู้รับจ้างเกี่ยวข้าว

27 ภาคผนวก: ว่าด้วยสารที่นักวิชาการเสนอให้แบน
อีพีเอ็น เมทโธมิล ไดโครโตฟอส คาร์โบฟูราน

28 อันดับความเป็นพิษของสารกำจัดศัตรูพืช
กลุ่มความอันตราย *ระดับความอันตราย ทางปาก ทางผิวหนัง 1เอ อันตรายสุดๆ น้อยกว่า 5 น้อยกว่า 50 1บี อันตรายมาก 5–50 50–200 2 อันตรายปานกลาง 50–2000 200–2000 3 อันตรายไม่มาก มากกว่า 2000 U ไม่ค่อยอันตราย 5000 หรือสูงกว่า The WHO Recommended Classification of Pesticides by Hazard and Guidelines to Classification,2009 * ระดับความอันตราย LD50 for the rat (mg/kg body weight)

29 การจัดคลาสตามค่าความเป็นพิษในหนู
สารเคมี ทางปาก ทางผิวหนัง กลุ่ม การกลับเข้าพื้นที่ (ชั่วโมง) อีพีเอ็น 14 1 เอ เมทโธมิล 17 5,880 1 บี 48 ไดโครโตฟอส* 22 42  คาร์โบฟูราน 8 >3,000 ตัวอย่างสารอื่นๆ ไซเปอร์เมทริน 250 2,000 II 12 ดีดีที 100 1,931 *จัด Class จัดตามการเป็นพิษทางปาก เว้นแต่ผิวหนังมีพิษมากกว่า **Suggestive Evidence of Carcinogenicity, but not Sufficient to Assess Human Carcinogenic Potential, “Chemicals Evaluated for Carcinogenic Potential Office of Pesticide Programs U.S. Environmental Protection Agency”,2010

30 บทสรุป


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์ผลกระทบทางสุขภาพจากการใช้สารเคมีเกษตรในประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google