งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
สถานภาพจัดการพลังงาน และการบังคับใช้กฎกระทรวง พ.ศ.2552 (ปรับปรุงแก้ไข)ตามพ.ร.บ.ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 1

2 เหตุผลในการปรับปรุงกฎหมาย
พ.ร.บ. (พ.ศ. 2535) ประกาศใช้มากกว่า 15 ปี บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการใช้พลังงานในปัจจุบัน รวมถึงขั้นตอนปฏิบัติยุ่งยาก ต้องการกำกับและส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปัจจุบัน วิธีการอนุรักษ์พลังงานได้เปลี่ยนมาใช้รูปแบบของการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมมากขึ้น

3 ประเด็นหลักของการปรับปรุง
ปรับลดขั้นตอนในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ กำหนดให้อาคารขนาดใหญ่ที่จะก่อสร้างหรือดัดแปลงต้องออกแบบให้อนุรักษ์พลังงาน นำวิธีการจัดการพลังงานที่เป็นมาตรฐานมาใช้เป็นพื้นฐานการอนุรักษ์พลังงาน กำหนดให้มีบุคลากรทำหน้าที่ตรวจและให้การรับรองการจัดการพลังงานที่โรงงาน / อาคารควบคุมดำเนินการ

4 พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
4 4

5 โครงสร้างกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน
พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม.ย. 2535 พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540 กฎกระทรวง มาตรฐาน การจัดการพลังงาน คุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบพลังงาน มาตรฐานการออกแบบอาคาร มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 มิ.ย. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 พ.ย. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 31 ก.ค. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 8 เม.ย. 2552 คุณสมบัติ ผู้ตรวจสอบพลังงาน มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์ กำหนดวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน อยู่ระหว่างการตรวจสอบขั้นสุดท้าย เพื่อเตรียมประกาศใช้

6 การอนุรักษ์พลังงานด้านการจัดการพลังงานตามกฎหมาย
แนวคิดการดำเนินการ พ.ร.บ. ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 Engineering Solutions พ.ร.บ. ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2550 Energy Management ISO วัตถุประสงค์ สนับสนุนและพัฒนาบุคลากรในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคาร ให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และสามารถอนุรักษ์พลังงานได้ด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและยั่งยืน เพื่อนำมาตรฐานการจัดการพลังงานมาใช้ในการกำกับดูแลการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมาย (โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม)

7 พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม
โรงงาน/อาคาร ที่มีขนาด เครื่องวัดไฟฟ้าตั้งแต่ ,000 kW ขึ้นไป หม้อแปลงไฟฟ้าตั้งแต่ 1,175 kVA ขึ้นไป การใช้พลังงานรวมตั้งแต่ 20 ล้าน MJ/ปี ขึ้นไป ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พ.ศ ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538

8 หน้าที่ของเจ้าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21)
หน้าที่ของเจ้าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21) มีหน้าที่ดังนี้ 1. จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำโรงงาน / อาคารควบคุม (คุณสมบัติ จำนวน หน้าที่ให้ออกเป็นกฎกระทรวง) 2. จัดให้มีการจัดการพลังงานในโรงงาน / อาคารควบคุม (หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติให้ออกเป็นกฎกระทรวง) 8

9 ขั้นตอนการดำเนินการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมาย
เจ้าของโรงงาน/อาคาร แจ้งผลรายงาน กฎกระทรวงคุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบพลังงาน ผู้ตรวจสอบพลังงาน แต่งตั้ง ผชร./ผชอ. จัดทำการจัดการพลังงาน ตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงานโดยผู้ตรวจสอบพลังงาน ส่งรายงานการจัดการพลังงานภายในเดือนมีนาคมของทุกปี กฎกระทรวงมาตรฐานการ จัดการพลังงาน ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ของ พพ. 9 9

10 พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕
ตารางการเปรียบเทียบพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพ.ศ. ๒๕๓๕ กับพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๐) กิจกรรม พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕ พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๐) 1. แจ้ง ผชร./ผชอ. ต้องแจ้งอย่างน้อย 1 คน -ติดตั้งหม้อแปลงน้อยกว่า 3,530 kVA ต้องแจ้งอย่างน้อย 1 คน ติดตั้งหม้อแปลงมากกว่า 3,530 kVA ต้องแจ้ง 2 คน* หมายเหตุ : โดยอย่างน้อย 1 คน ต้องได้รับการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโสหรือผู้ที่สอบได้ตามเกณฑ์

11 พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕
กิจกรรม พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕ พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๐) 2. ส่งแบบ บพร.1/ บพอ. 1 ส่งปีละ 2 ครั้ง เป็นส่วนหนึ่งของรายงานการจัดการพลังงานซึ่งต้องส่งให้ พพ. ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี* 3. ส่งเป้าหมายและแผนฯ 3 ปี ส่ง 1 ครั้ง 4. รายงานการปฏิบัติตามกฎหมายและแผนฯ ส่งปีละ 2 ครั้ง (รวมอยู่ในแบบ บพร. 1/ บพอ.1) 5.การจัดการพลังงาน ไม่มีกำหนดใน พรบ. 6.การกำกับการใช้พลังงานในอาคาร กำหนดให้ปรับปรุงอาคารควบคุมให้เป็นไปตามมาตรฐานตามกฎกระทรวง กำหนดเฉพาะอาคารที่ออกแบบก่อสร้างใหม่ ตั้งแต่ขนาด 2,000 ตารางเมตร ต้องออกแบบให้เป็นไปตามมาตรฐาน*

12 1 2 3 พรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์ฯ พ.ศ. 2535
(แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) มีผลบังคับ 1 มิ.ย. 51 1 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน 2 3 กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงาน กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติผู้ตรวจสอบ พลังงาน บังคับ 20 พ.ย. 52 บังคับ 31 ก.ค. 52 รอกฤษฎีกาพิจารณา ประกาศกระทรวง - หลักเกณฑ์และวิธีการ จัดการพลังงาน ในโรงงาน/อาคารควบคุม ประกาศใช้ 25 ก.ย. 52

13 กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน
13 13

14 การแต่งตั้งผู้รับผิดชอบพลังงาน โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม
ประเภท โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม ขนาดเครื่องวัดไฟฟ้า < 3,000 kW ≥ 3,000 kW ขนาดหม้อแปลง < 3,530 KVA ≥ 3,530 KVA ปริมาณการใช้พลังงาน < 60 ล้าน MJ/ ปี ≥ 60ล้าน MJ/ ปี จำนวนผู้รับผิดชอบพลังงาน 1 คน 2 คน การอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโสหรือผู้ที่สอบได้ตามเกณฑ์

15 กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน
คุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดของ ผชร. / ผชอ. จบปวส. + ประสบการณ์ 3 ปี + ผลงานอนุรักษ์พลังงาน จบปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ + ผลงานอนุรักษ์พลังงาน สำเร็จการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ สำเร็จการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส สอบผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดจากการจัดสอบผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน 15

16 กฎกระทรวง มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุม
และอาคารควบคุม 16 16

17 แนวคิดของการใช้ระบบจัดการพลังงาน
มาตรฐานระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management System) นี้ กำหนดขึ้นโดยใช้ มาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา (ANSI/MSE 2000 A Management System for Energy) อังกฤษ (Standards for Managing Energy) เดนมาร์ก (DS2403E:2001 Energy Management - Specifications) เป็นแนวทางและอาศัยหลักการของระบบการจัดการตามอนุกรมมาตรฐาน มอก.-9000/ISO 9000 มอก /ISO และ มอก ด้วยเหตุที่วัตถุประสงค์ของระบบการจัดการพลังงานต้องสามารถรวมเข้ากับระบบการจัดการอื่นๆขององค์กร การจัดทำจึงอ้างอิงข้อความของมาตรฐานเดิมเป็นหลัก และเพื่อให้สามารถใช้ได้กับองค์กรทั่วไปทุกขนาดและทุกสาขาอาชีพ นำระบบการจัดการพลังงานมาใช้ในการกำกับดูแลตามข้อกำหนดตามมาตรการ 9 และ 21 ซึ่งกำหนดให้เจ้าของโรงงาน/อาคารควบคุม ต้องดำเนินการอนุรักษ์พลังงานด้วยการจัดการพลังงาน การนำระบบมาใช้

18 กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน
การกำหนดโครงสร้างหน่วยงานด้านการจัดการพลังงาน ส่งรายงานฯ มี.ค. ทุกปี ระบบการจัดการพลังงาน การประเมินสถานการณ์เบื้องต้น กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การทบทวน วิเคราะห์ แก้ไขระบบ การประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์พลังงาน กำหนดเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งแผนฝึกอบรบ ตรวจติดตาม ประเมิน ระบบการจัดการพลังงาน ดำเนินการตามแผนฯ

19 ตั้งคณะทำงาน ด้านการจัดการ พลังงาน
กำหนดโครงสร้าง อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการในด้านพลังงานรวมทั้งจัดทำเป็นเอกสารและเผยแพร่ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องภายในองค์กรทราบ แต่งตั้งผู้จัดการพลังงาน (Energy Manager) มีอำนาจหน้าที่ ดูแลให้ระบบการจัดการพลังงานที่จัดทำขึ้น มีการนำไปใช้และดำเนินการเป็นไปตามข้อกำหนดในมาตรฐานนี้อย่างต่อเนื่อง รายงานผลการปฏิบัติตามระบบการจัดการพลังงานต่อผู้บริหารระดับสูง เพื่อนำไปใช้ในการทบทวนการจัดการ และเป็นแนวทางสำหรับการปรับปรุงระบบการจัดการพลังงาน ผู้บริหารระดับสูงต้องเป็นผู้นำในการแสดงความรับผิดชอบด้านพลังงานและดูแลให้มีการปรับปรุงระบบการจัดการพลังงานอย่างสม่ำเสมอ ตั้งคณะทำงาน ด้านการจัดการ พลังงาน

20 ประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้น
องค์กรต้องทบทวนการดำเนินงานด้านพลังงานที่มีอยู่กับ เกณฑ์การอนุรักษ์พลังงานที่ดี ซึ่งประกาศใช้/เป็นที่ยอมรับ/กำหนดเป็น Guideline ในการตรวจประเมิน ข้อกำหนดตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของทรัพยากรที่มีอยู่ ซึ่งนำไปใช้ในการจัดการพลังงาน แนวทางดำเนินงานด้านพลังงานที่มีอยู่ในองค์กรในอดีต ข้อปฏิบัติและการดำเนินงานที่ดีกว่าซึ่งองค์กรหรือหน่วยงานอื่นได้จัดทำเอาไว้ (Best Practice) ข้อมูลจากการทบทวนสถานะเริ่มต้น จะใช้ในการพิจารณากำหนดนโยบายและกระบวนการจัดทำระบบการจัดการพลังงาน ประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้น การทบทวนสถานะเริ่มต้นนี้จะใช้เฉพาะเมื่อมีการนำมาตรฐานนี้มาใช้เป็นครั้งแรกเท่านั้น เมื่อระบบการจัดการดำเนินไปได้ครบถ้วนตามข้อกำหนดแล้ว ผลจากการทบทวนการจัดการจะนำไปใช้ในการทบทวนนโยบายและพิจารณาปรับปรุงระบบการจัดการต่อไป

21 กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน
ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรต้องกำหนดนโยบาย โดย จัดทำเป็นเอกสารพร้อมทั้งลงนามโดยผู้บริหารระดับสูง เพื่อ แสดงเจตจำนงในการจัดการพลังงาน นโยบายต้อง เป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจ เหมาะสมกับลักษณะและปริมาณพลังงานที่ใช้ แสดงเจตจำนงที่จะปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่องค์กรได้ทำข้อตกลงไว้ แสดงเจตจำนงที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน อย่างต่อเนื่อง แสดงเจตจำนงที่จะจัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอเหมาะสมใน การดำเนินการตามระบบการจัดการพลังงาน กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน Awareness Commitment Implementation Interest SMART Thrust Commitment Desire Applicability Review Action

22 ประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน
การประเมินการใช้พลังงานที่มีนัยสำคัญ ต้องจัดทำและปฏิบัติตามเอกสารขั้นตอนการดำเนินงานที่ช่วยในการบ่งชี้ลักษณะการใช้พลังงาน ระดับพลังงานที่ใช้ และการประมาณระดับการใช้พลังงานทุกกิจกรรม ให้พิจารณา (1) ข้อมูลการใช้พลังงานทั้งในอดีต และปัจจุบัน (2) รายการอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานในสัดส่วนที่สูง (3) แผนงานด้านอนุรักษ์พลังงาน (4) ศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงาน จัดทำและเก็บบันทึกตามที่กำหนด จัดทำและปฏิบัติตามเอกสารขั้นตอนการดำเนินงานในการติดตามข้อกำหนดตามกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ ที่นำมาใช้ในการจัดการพลังงานให้ทันสมัย ประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน Overproduction Over-processing Energy Waste Waiting Inventory Rework Transportation Motion

23 แผนเพื่อ รองรับมาตรการ อนุรักษ์พลังงานที่คัดเลือก
แผน ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตสำนึกของพนักงานใน แผน การฝึกอบรม เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง หัวหน้างานทำการวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรมด้านพลังงาน (Training Need Analysis) ของพนักงานและจัดส่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปจัดทำเป็นแผนการฝึกอบรมรวม ระดับการฝึกอบรมที่ต้องได้รับ ควรสอดคล้องกับระดับ Impact (Awareness, Interest, Desire, Action) ที่คาดหวังจากพนักงาน กำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน Benchmarking Specific Energy Consumption (SEC) Process Mapping Energy Relation

24 หลังจากที่มาตรการต่างๆผ่านการอนุมัติจากผู้บริหารระดับสูงขององค์กร ผู้ที่ได้รับมอบหมายก็จะมีหน้าที่นำ ไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดผล ตามกำหนดเวลาที่ระบุ ในระหว่างที่กำลังดำเนินการยังไม่แล้วเสร็จ จำเป็นจะต้องติดตามความก้าวหน้า และเปรียบเทียบกับแผนงาน ดำเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงานและ ตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน %Completion Control Chart Moving Average Chart

25 ตามติดตามและประเมินการ
มีการ ตรวจประเมินตลอดทั้งองค์กร โดยต้องครอบคลุม ขอบข่าย ความถี่ วิธีการตรวจประเมิน รวมทั้งความรับผิดชอบในการตรวจประเมิน ผู้ตรวจประเมิน ต้องเป็นบุคคล ที่มีความรู้ความสามารถในการตรวจประเมินระบบการจัดการพลังงานและ มีความเป็นอิสระจาก กิจกรรมที่ทำการตรวจประเมิน เพื่อตัดสินว่า ระบบการจัดการพลังงานขององค์กรเป็นไปตามมาตรฐาน องค์กรได้ดำเนินการและบรรลุผลตามนโยบายและการเตรียมการจัดการพลังงาน แผนการตรวจประเมินขึ้นกับระดับการใช้พลังงานและผลการตรวจประเมินที่ผ่านมา นอกจากนี้ต้องมีการรายงานผลการตรวจประเมิน และส่งให้บุคคลที่ถูกตรวจประเมิน ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานที่ถูกตรวจประเมินรวมทั้งผู้เกี่ยวข้องเพื่อทำการแก้ไข ตามติดตามและประเมินการ จัดการพลังงาน Internal Audit Looking for evidence

26 ทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน
ผู้บริหารต้อง ทบทวนระบบการจัดการพลังงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้แน่ใจว่าระบบการจัดการยังคงมีความเหมาะสม มีความเพียงพอ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล พิจารณาถึง (1) ผลการดำเนินงานของระบบการจัดการพลังงานทั้งหมด (2) ผลการดำเนินงานเฉพาะแต่ละข้อกำหนดของระบบการจัดการ (3) สิ่งที่พบจากการตรวจประเมิน (4) ปัจจัยภายในและภายนอก วิเคราะห์ว่าการกระทำใดที่จำเป็นต้องแก้ไขจากข้อบกพร่องของระบบการจัดการพลังงาน พิจารณาความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของระบบการจัดการพลังงาน พิจารณา จากผลการตรวจประเมิน จากสภาวการณ์ที่เปลี่ยนไป จากเจตจำนงที่จะให้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (PDCA) ทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน

27 ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน
27 27

28 ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน
หน้าที่ผู้ตรวจสอบพลังงาน : ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับโรงงาน / อาคารควบคุม คุณสมบัติผู้ตรวจสอบพลังงาน : 1. เป็นบุคคลธรรมดา และนิติบุคคลไทย มีวัตถุประสงค์ประกอบธุรกิจหรือให้บริการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน หรือการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใช้และการผลิตพลังงาน 2. สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา 3. หน่วยงานของรัฐที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล 28

29 ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่อ)
จำนวนบุคลากรของผู้ตรวจสอบพลังงาน 1. ผู้ชำนาญการอย่างน้อย 1 คน 2. ผู้ช่วยผู้ชำนาญการอย่างน้อย 2 คน 3. ผู้ชำนาญการต้องผ่านการอบรมหลักสูตรวิธีการตรวจสอบฯ 29

30 ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่อ)
การบังคับใช้กฎกระทรวง กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 120 วัน นับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปัจจุบันอยู่ระหว่างตรวจสอบขั้นสุดท้ายเพื่อเตรียมการประกาศใช้

31 กฎกระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
31 31

32 กฎกระทรวงการออกแบบอาคาร เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
Building Code ข้อกำหนดมาตรา 19 1 2 มาตรฐานการออกแบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงานประกอบด้วย 6 ส่วน ดังนี้ 1. ระบบกรอบอาคาร 2. ระบบแสงสว่าง 3. ระบบปรับอากาศ 4. อุปกรณ์ผลิตน้ำร้อน 5. การใช้พลังงานรวมของอาคาร 6. การใช้พลังงานหมุนเวียน อาคารที่ก่อสร้างแล้วเสร็จหรือดัดแปลงแล้วเสร็จ มีขนาดพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไปต้องออกแบบให้อนุรักษ์พลังงาน 32

33 กฎกระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (ต่อ)
Building Code 1. ระบบกรอบอาคาร ค่าถ่ายเทความร้อนรวมของผนังด้านนอกอาคาร (OTTV) ค่าถ่ายเทความร้อนรวมของผนังหลังคา (RTTV) ประเภทอาคาร OTTV (วัตต์/ตรม) RTTV (วัตต์/ตรม) สถานศึกษา สำนักงาน ศูนย์การค้า สถานบริการ ห้างสรรพสินค้า โรงแรม สถานพยาบาล อาคารชุด 50 40 30 15 12 10 (OTTV : Overall Thermal Transfer Value) (RTTV : Roof Thermal Transfer Value)

34 กฎกระทรวงการออกแบบอาคาร เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
Building Code 2. ระบบไฟฟ้า แสงสว่าง ระดับความส่องสว่างสำหรับงานแต่ละประเภท ต้องเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างต้องใช้กำลังไฟฟ้าสูงสุดไม่เกินค่าดังนี้ ประเภทอาคาร ค่ากำลังไฟฟ้าสูงสุด (วัตต์/ตรม) สถานศึกษา สำนักงาน ศูนย์การค้า สถานบริการ ห้างสรรพสินค้า โรงแรม สถานพยาบาล อาคารชุด 14 18 12

35 กฎกระทรวงการออกแบบอาคาร เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
Building Code 3. ระบบปรับอากาศ ระบบปรับอากาศแต่ละประเภทและขนาดต่างๆ ต้องมีค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะขั้นต่ำ ค่าประสิทธิภาพการให้ความเย็น ค่าพลังไฟฟ้าต่อตันความเย็นเป็นไปตามที่ รัฐมนตรีประกาศกำหนด

36 กฎกระทรวงการออกแบบอาคาร เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ค่าประสิทธิภาพขั้นต่ำ
Building Code 4. อุปกรณ์ผลิต น้ำร้อน หม้อไอน้ำและหม้อต้มน้ำมันร้อน ต้องมีค่าประสิทธิภาพขั้นต่ำ ดังนี้ ประเภท ค่าประสิทธิภาพขั้นต่ำ (ร้อยละ) Boiler น้ำมัน Boiler แก๊ส Hot Water Boiler น้ำมัน Hot Water Boiler แก๊ส 85 80

37 กฎกระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (ต่อ)
Building Code 4. อุปกรณ์ผลิต น้ำร้อน (2) เครื่องทำน้ำร้อนชนิดฮีตปั๊ม แบบใช้อากาศเป็นแหล่งพลังงาน (Air-source heat pump water heater) ลักษณะ การออกแบบ ภาวะพิกัด ค่าสัมประสิทธิ์ สมรรถนะขั้น ต่ำ อุณหภูมิ น้ำเข้า อุณหภูมิ น้ำออก อุณหภูมิ อากาศ องศาเซลเซียส แบบที่ 1 แบบที่ 2 30.0 50.0 60.0 30.0 3.5 3.0

38 กฎกระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (ต่อ)
Building Code 5. การใช้พลังงาน รวมของอาคาร กรณีที่ออกแบบไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ข้อ 1, 2 หรือ 3 ให้พิจารณาตามเกณฑ์การใช้พลังงาน โดยรวมของอาคารอ้างอิง ในระบบต่างๆ ของอาคาร 6. การใช้พลังงาน หมุนเวียน การใช้แสงธรรมชาติเพื่อการส่องสว่าง การผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์

39 กฎกระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (ต่อ)
การใช้พลังงานโดยรวม Building Code ในกรณีที่ระบบกรอบอาคาร ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง หรือ ระบบปรับอากาศ ระบบใดระบบหนึ่งไม่ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานที่กฎหมายกำหนด สามารถพิจารณาจาก ค่าการใช้พลังงานโดยรวมได้ การใช้พลังงานโดยรวมของอาคารที่ออกแบบจะต้องต่ำกว่าค่าการใช้พลังงานรวมของอาคารอ้างอิง ทางเลือก 1 ผ่านเกณฑ์ทุกระบบ 1.ระบบกรอบอาคาร 2.ระบบแสงสว่าง 3.ระบบปรับอากาศ 4.อุปกรณ์ผลิตน้ำร้อน เกณฑ์ในการออกแบบ ทางเลือก 2 ใช้ประเมินค่าพลังงานรวม พลังงานรวมของอาคาร ที่ออกแบบ ที่อ้างอิง 1 2 อุปกรณผลิตน้ำร้อน ผ่าน ไม่ผ่าน

40 กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
แหล่งที่มาของเงินกองทุน เงินที่โอนมาจากกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง (1,500 ล้านบาท) เงินที่เรียกเก็บจากผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ผู้นำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิง เงินค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า เงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นคราวๆ เงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากภาคเอกชนทั้งภายในและภายนอกประเทศ รัฐบาล/องค์การระหว่างประเทศ เงินดอกผลที่เกิดจากกองทุน

41 กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
วัตถุประสงค์ เป็นเงินหมุนเวียน เงินช่วยเหลือ หรือเงินอุดหนุน สำหรับการลงทุนเพื่ออนุรักษ์พลังงานของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน เป็นเงินช่วยเหลือ หรือ เงินอุดหนุนแก่ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ/สถาบันการศึกษา/เอกชนในเรื่องต่างๆ ได้แก่ โครงการอนุรักษ์พลังงาน การศึกษา วิจัย การสาธิต ศึกษา ฝึกอบรม ประชุมฯ โฆษณาประชาสัมพันธ์

42 บทกำหนดโทษ เจ้าของโรงงาน / อาคารควบคุม และผู้รับผิดชอบด้านพลังงานไม่ดำเนินการตามกฎหมายการจัดการพลังงาน กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท 200,000

43 บทกำหนดโทษ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ ระวางโทษปรับ ไม่เกิน 5,000 บาท (มาตรา 59) 5,000

44 ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม
ศูนย์ปรึกษา ระบบการจัดการพลังงาน อาคาร 8 ชั้น 2 พพ. โทรสาร

45 ? Q & A Thank you 45 45


ดาวน์โหลด ppt สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google