งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
ผลกระทบของ leverage ต่อผลตอบแทน ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business risk) และความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

2 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ความหมาย: Leverage Leverage หมายถึง การใช้ต้นทุนคงที่ในการดำเนินงานหรือในโครงสร้างเงินทุน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) และความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงทางธุรกิจ: ความไม่แน่นอนของกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีในอนาคต ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางธุรกิจ เช่นการแข่งขัน, operating leverage เป็นต้น ความเสี่ยงทางการเงิน: ความเสี่ยงที่ผู้ถือหุ้นสามัญได้รับจากการใช้ financial leverage ขึ้นอยู่กับปริมาณการจัดหาเงินทุนจากหนี้สิน และหุ้นบุริมสิทธิ์ ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

4 ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คืออะไร?
ความไม่แน่นอนของกำไรจากการดำเนินงาน (EBIT) ในอนาคต Probability ความเสี่ยงต่ำ ความเสี่ยงสูง E(EBIT) EBIT ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

5 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ความเสี่ยงทางธุรกิจจะพิจารณาจากความผันผวนของกำไรจากการดำเนินงาน ดังนั้นความเสี่ยงทางธุรกิจจึงไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบจากการจัดหาเงินทุน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

6 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความเสี่ยงทางธุรกิจ
ความไม่แน่นอนของความต้องการสินค้า (มีผลต่อยอดขาย) ความไม่แน่นอนของราคาสินค้า ความไม่แน่นอนของต้นทุนผลิต ตัวผลิตภัณฑ์ Degree of operating leverage (DOL) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

7 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Operating leverage คืออะไร และมีผลกระทบต่อความเสี่ยงทางธุรกิจของบริษัทอย่างไร? Operating leverage คือระดับการใช้ต้นทุนคงที่ เมื่อสัดส่วนของต้นทุนคงที่ในโครงสร้างของต้นทุนเพิ่มขึ้น operating leverage ก็จะสูงขึ้น ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

8 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
operating leverage สูงขึ้นทำให้ความเสี่ยงทางธุรกิจสูงขึ้น เพราะการที่ยอดขายลดลงเพียงเล็กน้อย จะทำให้กำไรลดลงเป็นจำนวนมาก Sales $ Rev. TC FC QBE Profit } ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

9 ตัววัด operating leverage
จุดคุ้มทุน (Break-even point) Degree of Operating Leverage (DOL) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

10 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
คำนวณจุดคุ้มทุน จุดคุ้มทุน (Qb-e) = FC p - v FC—ต้นทุนคงที่ p—ราคาขายต่อหน่วย v—ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

11 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
คำนวณ DOL Degree of Operating Leverage (DOL) = %∆EBIT %∆Q EBIT—กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี Q—ยอดขาย ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

12 ความเสี่ยงทางการเงิน
คือความแปรปรวนที่เกิดขึ้นกับผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นสามัญ ซึ่งเกิดจากสัดส่วนของหนี้สินในโครงสร้างทุน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

13 พิจารณาบริษัท 2 บริษัทต่อไปนี้
บริษัท U บริษัท L ไม่มีหนี้สิน มีหนี้สิน $10,000 ดอกเบี้ย 12% มีสินทรัพย์ $20,000 ภาษี 40% ทั้งสองบริษัทมี operating leverage, ความเสี่ยงทางธุรกิจ และกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี ($3,000) เหมือนกัน แตกต่างกันเพียงแค่โครงสร้างเงินทุนเท่านั้น ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

14 ผลกระทบของ leverage ต่อผลตอบแทน
บริษัท U บริษัท L EBIT $3,000 ดอกเบี้ย 1,200 กำไรก่อนภาษี $1,800 ภาษี (40%) 1 ,200 720 กำไรสุทธิ $1,080 ROE 9.0% 10.8% ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

15 เพราะเหตุใด การ leverage จึงทำให้อัตราผลตอบแทนสูงขึ้น?
ผลตอบแทนรวมที่นักลงทุนได้รับ: U: กำไรสุทธิ = $1,800 L: กำไรสุทธิ + ดอกเบี้ย = $1,080 + $1,200 = $2,280 ส่วนต่าง = $480 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

16 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ภาษีจ่าย: U: $1,200; L: $720 ส่วนต่าง = $480 นักลงทุนในบริษัท L จะได้รับส่วนแบ่งจากกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีมากกว่า ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

17 การวัดความเสี่ยงทางการเงิน
Degree of Financial Leverage (DFL) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

18 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
คำนวณ DFL DFL = %∆EPS %∆EBIT EPS—กำไรต่อหุ้น EBIT—กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

19 ความเสี่ยงในมุมมองของผู้ถือหุ้น
Stand-alone Business Financial risk risk risk = ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google