งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท์)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท์)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท์)
หลักสูตรนานาชาติ ใคร ๆ ก็จัดได้....ถ้า มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 4 พฤศจิกายน 2551 พรทิพย์ กาญจนนิยต ผู้อำนวยการบริหาร มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท์)

2 ลำดับการนำเสนอ มองแนวโน้มนานาชาติและมองไทย
หลักสูตรที่เขาเรียกว่า ‘หลักสูตรนานาชาติ’ แล้วเราล่ะ แลกเปลี่ยนความเห็น

3 ที่มาที่ไป ความแรงของความเป็นสากล จุดเน้นเรื่องคุณภาพ
คำถามคาใจจากการประเมินภายนอก

4 คิดและต่อให้ติด จากหนึ่งข้อเขียนที่เป็นภาพรวม
ผนวก แหล่งและคนที่มี ‘ความเป็นสากล’ ของฟุลไบรท์ ผนึก ‘คุณภาพ’ จากเกณฑ์บัลดริจ

5 คิดและต่อให้ติด ความเป็นสากล + คุณภาพ = ศักดิ์ศรี + ยั่งยืน

6 แนวโน้มอุดมศึกษา ประชากรวัยเรียนลด (ญี่ปุ่น/สหรัฐ)—รูปแบบ การแสวงหาผู้เรียน ความต้องการด้านวิทยาศาสตร์/ เทคโนโลยี (Multidisciplinary vs Transdisciplinary) ความต้องการรายได้ (higher ed. exporters) สหรัฐ- สนับสนุนระดับ ป. ตรี 1 เทอม -1 ปี -- Big 10 – international expe —tenure track เกาหลี– อยากสนับสนุน ป. ตรี 1 ปี เน้น e-learning เต็มรูปแบบ

7 แนวโน้มต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เป็นเรื่องที่สถาบันอุดมศึกษาจำเป็นต้องติดตามและพิจารณาหา ‘นัย’ ที่เกิดขึ้น และสิ่งที่อาจจะเกิดกับประเทศและสถาบันของไทย เพื่อจะได้ตั้งรับ และที่สำคัญ รุกและสามารถแข่งขันได้ในเวทีต่าง ๆ

8 Global Workers Mobility

9 สิ่งสำคัญที่ต้องตระหนักอีกอย่างคือการเคลื่อนย้ายของคนทุกสาขาอาชีพ หรือการจ้างงานที่ทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายคน หรือเพียงแค่สมอง ผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารต่าง ๆ

10 Systematic Approaches
(1) Reacting to Problems (2) Early Systematic Approaches Strategic And Operational Goals Strategic and Operational Goals (3) Aligned Approaches (4) Integrated Approaches Strategic and Operational Goals Strategic and Operational Goals

11 ในวัฒนธรรม หรือวิธีการทำงานของเรา จากความเคยชิน อาจจะพบว่า มีการแก้ปัญหาในหลายลักษณะ ตั้งแต่การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (ซึ่งมักจะเกิดบ่อยมาก) จนกระทั่ง ความพยายามให้เกิดระบบงานที่ดีขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาจริงจังทั้งองค์กร

12

13 ธรรมชาติของการทำงานของเรา คือการทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด และหลายคนก็พยายามปรับปรุงต่อเนื่อง แต่อาจลืมมองไปว่า เราเองอาจขาดการเชื่อมโยงกับส่วนที่เกี่ยวข้อง อาจจะขาดความเข้าใจที่แท้จริงของเป้าหมายที่แท้จริงของมหาวิทยาลัย

14

15 บางแห่งอาจจะเน้นการนำเสนอ ทำให้ภาพรวมด้านนอกที่คนมอง เป็นภาพลักษณ์ที่ดี ที่บวก โดยอาจจะตรงกับความเป็นจริงอยู่มาก อยู่บ้าง หรือไม่เลย แต่หลายคนก็ยังหลงอยู่ใน ‘ภาพลวงตา’ ด้วยความภูมิใจในสิ่งที่ไม่เป็นจริง จึงขาดภาวะกดดัน หรือสำนึกในการพัฒนาคุณภาพอย่างจริงจัง

16 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

17 จำนวนที่เพิ่มขึ้น ผกผันกับ คุณภาพ???

18 ดูโลก ภูมิภาค/โลก

19 เพื่อให้เท่าทัน จำเป็นที่ต้องดูความเคลื่อนไหวและการพัฒนาของโลกและภูมิภาค โดยอาจจะเลือกเฉพาะประเทศหลัก ๆ ที่เราเห็นว่า มีอิทธิพลต่อความเปลี่ยนแปลงต่อโลก และภูมิภาคหลักที่ส่งผลต่อความร่วมมือของมหาวิทยาลัยของเรา

20 ความเป็นสากลของมหาวิทยาลัยมีมากน้อยสำหรับ
มองภาพใหญ่ก่อน ความเป็นสากลของมหาวิทยาลัยมีมากน้อยสำหรับ การรุกขั้นต่อไป

21 แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติสำหรับสถาบันอุดมศึกษาไทย
6 หมวด - การบริหารจัดการ - คณาจารย์และหลักสูตร - การแลกเปลี่ยนและศึกษาต่อในต่างประเทศ - นักศึกษาและผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ - ความร่วมมือกับต่างประเทศและโครงการ พัฒนา - การบริการสาธารณะ

22 วกกลับมาที่เรา สกอ./ชาติ ภูมิภาค/โลก

23 ปัจจุบัน เรา ‘สร้าง’ องค์ความรู้หรือไม่ จริงจัง และนำไปใช้ได้แค่ไหน
Internationalized University “A university which creates, collects and disseminates the body of knowledge” Prof. Thienchay Kiranandana, 2000 ปัจจุบัน เรา ‘สร้าง’ องค์ความรู้หรือไม่ จริงจัง และนำไปใช้ได้แค่ไหน

24 จุดเน้นเชิงยุทธศาสตร์ระยะยาว
ของ สกอ ปฏิรูประบบอุดมด้านคุณภาพ การจัดกลุ่มสถาบัน การจัดสรรงบ เน้นบทบาทสถาบันอุดมที่ขับเคลื่อนการแข่งขัน พัฒนาบุคลากร Learning Infrastructure

25 โครงการหลักที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาระบบการประเมินงานวิจัย ทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากร เครือข่ายอุดม LLL โดย ICT และการศึกษาทางไกล ปฏิรูประบบฐานข้อมูล

26 ประเด็นที่ต้องพิจารณาต่อ
ระดับนโยบาย/ สกอ. กำกับคุณภาพ– แผนกลาง/ ยาวด้านคุณภาพ แผนยุทธศาสตร์ระดับชาติการใช้ภาษา ปรับระเบียบ เชื่อมโยง ม/ส การสร้างความเข้าใจและทิศทาง

27 มหาวิทยาลัยของเรา U turn มาที่ น โ ย บ า คณะ/มหาวิทยาลัย สกอ./ชาติ
ม ดุล สกอ./ชาติ ภูมิภาค/โลก

28 ประเด็นที่ต้องพิจารณาต่อ
ระดับสถาบัน การคัดกรองอจ. ต่างชาติ เน้นองค์ความรู้ใหม่ การมีเวที ความสำคัญ cross-culture ราคา

29 การเรียนรู้/การมีงานทำ
บริบทสากล บริบทไทย ร์ ม ดุ การ สอน การวิจัย บริการ ศิลป วัฒนธรรม คุณภาพบัณฑิต การเรียนรู้/การมีงานทำ วิสัยทัศน์/ พันธกิจ สื่อสาร ฝึกอบรม ฯลฯ คณะ/มหาวิทยาลัย สกอ./ชาติ ภูมิภาค/โลก ม ดุ

30 หลักสูตรนานาชาติ จากทัศนะของเลขาฯ สกอ.
‘นานาชาติ’ อัตโนมัติ และ อัตตาหิ ทุกหลักสูตรต้องมีฐานของความเป็นนานาชาติอยู่แล้ว

31 หลักสูตรนานาชาติจากเลขาฯ สกอ.
การปรับตัวของประเทศต่าง ๆ (ภาษา, ระบบหน่วยกิต, ภาคการศึกษา, ความเป็น ‘ชุมชนเดียวกัน’)

32 หลักสูตรนานาชาติจากเลขาฯ สกอ.
จากนโยบายการเป็น hub - อาณาบริเวณศึกษา, ภาษา new platform ที่ไม่ใช่ทัดเทียมแต่ดีกว่า เฉพาะสถาบันที่พร้อม

33 ทำไมต้องมีหลักสูตรนานาชาติ
ดึงดูดความสนใจผู้ปกครองและผู้เรียน?? ใช้ยกระดับสถาบัน??? เพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ?

34 ทำไมต้องมีหลักสูตรนานาชาติ
เพิ่มช่องทางหารายได้????

35 อะไรที่เรียกว่าหลักสูตรนานาชาติ
ต้องรู้ เนื้อหา กิจกรรม + สนับสนุน ควรรู้ ภาษาอังกฤษ???!

36 ปัจจัยความสำเร็จ ผู้บริหาร
คณาจารย์ คน! ผู้เรียน บุคลากร

37 เมื่อจัดหลักสูตรนานาชาติ
คิดถึงใคร/ อะไร เมื่อจัดหลักสูตรนานาชาติ เอกลักษณ์ ผู้เรียนเป้าหมาย สาระ คณาจารย์ ความเป็นอยู่ สวัสดิภาพ หลักสูตร นานาชาติ วิจัย บรรยากาศ/ โอกาส นานาชาติ ค่าใช้จ่าย

38 ความเป็นสากล + คุณภาพ =
ต่อได้ติด ความเป็นสากล + คุณภาพ = ศักดิ์ศรี + ยั่งยืน + แข่งขันได้

39 ความท้าทาย ความเชื่อมโยงกับภาพรวมขององค์กรและคู่ความร่วมมือ
(ร่วมจัดหลักสูตรกันเอง/ Credit transfer)

40 ภาวะขาดแคลนด้านภาษา/วัฒนธรรม—ให้ผู้เรียนไทยล้วนที่สอนเป็นภาษาอ้งกฤษ
ความท้าทาย คุณค่าจากการเรียนรู้ ภาวะขาดแคลนด้านภาษา/วัฒนธรรม—ให้ผู้เรียนไทยล้วนที่สอนเป็นภาษาอ้งกฤษ

41 ความท้าทาย วิธีใช้ประโยชน์
ผู้เรียน/ บุคลากรและสิ่งแวดล้อมทางการศึกษา --การเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน/สถาบัน

42 ความท้าทาย ความเหลื่อมล้ำ
ระหว่างนักศึกษาหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรปกติ first/business vs economy???

43 ความท้าทาย เลือกสร้างความร่วมมือ/ เครือข่ายหน่วยนโยบาย+ สถาบันอุดมศึกษาไทย/เทศ ร่วมมือ/แลกเปลี่ยน เพื่อพลัง เพื่อ shortcut และ เพื่อกำหนด benchmarks

44 ความท้าทายล่าสุด และจากโรงเรียน Inter
Input จากโรงเรียน EP และจากโรงเรียน Inter ความเหมือนและต่าง การจัดการเรียนการสอน การปฏิสัมพันธ์เพื่อพัฒนา supply chain??

45 Sub-prime จะมีนัยสำคัญอะไรต่อภาพรวม การจัดหลักสูตรนานาชาติ
ความท้าทายล่าสุดสุด Sub-prime จะมีนัยสำคัญอะไรต่อภาพรวม การจัดหลักสูตรนานาชาติ

46 นัยจาก Sub-prime ความพยายามลดค่าใช้จ่าย -- cost-sharing ผลกระทบต่อการแลกเปลี่ยน ความต้องการเรียนในที่ที่ถูกกว่าแต่ดี ภาวะตกงานทำให้ได้อาจารย์ง่ายขึ้น??? ฯลฯ

47 ความท้าทายล่าสุดสุด Outsource ‘Pathways Programs’ ให้กับภาคเอกชน ตั้งแต่ตั้งสถาบันภาษาใน campus ใช้บริษัทจัดหาผู้เรียน จนถึงการใช้บริษัทสอนบางวิชาก่อนรับเข้าเรียนในหลักสูตรปกติ

48 Problem: Foreign Students. Solution: Corporate Partner.
Northwestern + Kaplan = Academic + Recruitment/ non-academic services for the program Oregon State + Into U. Partnerships = 35-year agreement Problem: Foreign Students. Solution: Corporate Partner. By KARIN FISCHER Section: International, Volume 55, Issue 2, Page A41, 2008

49 จะมีนัยสำคัญอะไรต่อภาพรวม การจัดหลักสูตรนานาชาติ
ความท้าทายล่าสุด Outsource ‘Pathways’ ให้กับภาคเอกชน จะมีนัยสำคัญอะไรต่อภาพรวม การจัดหลักสูตรนานาชาติ

50 ประเมินตนเองอย่างจริงจังและเป็นจริง

51 Jeff Bezos has every intention of just doing what he does, taking a million little steps until he gets where he wants to go. Josh Quittner, How Jeff Bezos Rules the Retail Space. Fortune, May 5, 2008

52 หลักสูตรนานาชาติ Check List++
วัตถุประสงค์หลักคืออะไร? ให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน/ การแลกเปลี่ยนอย่างไร? ให้ความสนับสนุนคณาจารย์อย่างไร? พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนอย่างไร? ป้องกัน/ใช้ “ความแปลกแยก” อย่างไร?

53 เรียนรู้จากรุ่นพี่ ค่อย ๆ พัฒนา
ยืนหยัดในปริมาณที่เหมาะเพื่อรักษาคุณภาพ หาเครือข่ายที่ ‘ใช่’ เจาะตลาดใหม่

54 ปรอทวัดระดับการพัฒนา
ระดับต้น แปลหลักสูตรจากภาษาไทย จ้างอาจารย์ต่างชาติได้ชั่วคราว ค่อย ๆ ทำ ค่อย ๆ แก้ทีละเรื่อง ระดับต้น-กลาง เริ่มมีวิชาเรียนที่ตลาดต้องการ (ไว้โฆษณา) และเริ่มจ้างอาจารย์ต่างชาติอย่างมีระบบขึ้น ระดับกลาง คำนึงถึงสวัสดิภาพและสวัสดิการผู้เกี่ยวข้องมากขึ้น คัดสรรคู่ความร่วมมือเป็นทางการ ระดับพัฒนาแล้ว คำนึงถึงการเป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาค/ นานาชาติ รักษาบุคลากรทั้งไทยและเทศได้

55 หลักสูตรนานาชาติของเราเตรียมตั้งรับ/ เริ่มรุกกับแนวโน้มต่าง ๆ อย่างไร

56 Jim Collins, The Secret of Enduring Greatness, Fortune. May 5, 2008.
When you’ve built an institution with values and a purpose beyond just making money– when you’ve built a culture hat makes a distinctive contribution while delivering exceptional results– why would you surrender to the forces of mediocrity and succumb to irrelevance. Jim Collins, The Secret of Enduring Greatness, Fortune. May 5, 2008.

57 ด้วยการมองอดีตเพื่อประกอบงานในอนาคต
ช่วงระดมสมอง ด้วยการมองอดีตเพื่อประกอบงานในอนาคต


ดาวน์โหลด ppt มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท์)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google