งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเทศไทยควรพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์หรือ? ข้อพิจารณาและต้นทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเทศไทยควรพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์หรือ? ข้อพิจารณาและต้นทุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเทศไทยควรพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์หรือ? ข้อพิจารณาและต้นทุน
ประเทศไทยควรพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์หรือ? ข้อพิจารณาและต้นทุน 13 สิงหาคม 2550 Sheila Bijoor พลังไท

2 โครงเรื่อง ความเป็นมาของพลังงานนิวเคลียร์
เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์จึงได้รับความนิยมอีก? การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต้นทุนการผลิต เทคโนโลยีใหม่ การแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ความปลอดภัยและความมั่นคง กากกัมมันตรังสี แนวโน้มประวัติศาสตร์การเมืองไทย

3 การพัฒนาของอุตสาหกรรม พลังงานนิวเคลียร์ระดับโลก
1960 1970 1980 1990 2000 2010

4 เตาปฏิกรณ์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
กำลังผลิตติดตั้ง เตาปฏิกรณ์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เตาปฏิกรณ์ที่เดินเครื่องอยู่ Rohde, Robert A. Global Warming Art Project. Data Source: International Atomic Energy Agency. Nuclear Power Reactors in the World, Reference Data Series No. 2. (2006)

5 1970-1980’s: กำลังผลิตขยายตัวอย่างมาก
เตาปฏิกรณ์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เตาปฏิกรณ์ที่เดินเครื่องอยู่ Rohde, Robert A. Global Warming Art Project. Data Source: International Atomic Energy Agency. Nuclear Power Reactors in the World, Reference Data Series No. 2. (2006)

6 1970-1980’s: การก่อสร้างขยายตัวอย่างมาก
เตาปฏิกรณ์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เตาปฏิกรณ์ที่เดินเครื่องอยู่ Rohde, Robert A. Global Warming Art Project. Data Source: International Atomic Energy Agency. Nuclear Power Reactors in the World, Reference Data Series No. 2. (2006)

7 มีการยกเลิกคำสั่งซื้อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มากกว่า 2 ใน 3 1
ช่วงถดถอย 1 50 Years of Nuclear Energy (PDF). International Atomic Energy Agency. Retrieved on 2 Rohde, Robert A. Global Warming Art Project. Data Source: International Atomic Energy Agency. Nuclear Power Reactors in the World, Reference Data Series No. 2. (2006)

8 ยุคเสื่อมถอยของพลังงานนิวเคลียร์
2 Chernobyl Three Mile Island - ต้นทุนสูงขึ้น - อุบัติเหตุด้านนิวเคลียร์1 ราคาเชื้อเพลิงฟอสซิลลดลง - การปล่อยกัมมันตรังสี การแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ - กากกัมมันตรังสี โรงไฟฟ้าที่ล้มเหลว 1 The Rise and Fall of Nuclear Power. Public Broadcasting Service. Retrieved on June 28, 2006. 2 Rohde, Robert A. Global Warming Art Project. Data Source: International Atomic Energy Agency. Nuclear Power Reactors in the World, Reference Data Series No. 2. (2006)

9 พลังงานนิวเคลียร์ในปัจจุบัน
สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากนิวเคลียร์ % (ค่าเฉลี่ยโลก 16%) มีเตาปฏิกรณ์เชิงพาณิชย์มากกว่า 435 แห่งใน 30 ประเทศ พลังงานนิวเคลียร์เพิ่มขึ้น 210 TWh ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา มีกำลังผลิตติตดตั้งทั้งหมด 2658 พันล้าน kWh ในปี 2006 “Nuclear Power in the World Today.” World Nuclear Association. (2007)

10 พลังงานนิวเคลียร์ในวันข้างหน้า
เตาปฏิกรณ์ที่ยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง Data: “Nuclear Power in the World Today.” World Nuclear Association. 2007 ณ ปี 2550 เตาปฏิกรณ์ 32 แห่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 25,073 MWe เอเชียเป็นทวีปเดียวที่มีการเติบโตของพลังงานนิวเคลียร์ เตาปฏิกรณ์ 18 จาก 32 ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง อยู่ในทวีปเอเชีย “Nuclear Power in the World Today.” World Nuclear Association. (2007)

11 แผนการสร้างเตาปฏิกรณ์เพิ่ม
86 โครงการเตาปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ที่มีการเสนอ ณ ปี 2007 24 20 21 15 18 Data: “Nuclear Power in the World Today.” World Nuclear Association. 2007 ณ ปี 2550 มีการเสนอโครงการก่อสร้างเตาปฏิกรณ์ 214 แห่งทั่วโลก คิดเป็นพลังงานไฟฟ้ารวม 179,345 MWe ในเอเชีย: มีเตาปฏิกรณ์มากกว่า 109 แห่งที่เดินเครื่อง ใช้งานอยู่ มีแผนการสร้างเพิ่มอีก 110 แห่ง นิวเคลียร์เติบโตมากที่สุดในจีน ญิ่ปุ่น เกาหลีใต้ และอินเดีย “Nuclear Power in the World Today.” World Nuclear Association. (2007)

12 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์ จึงกลับมาได้รับความนิยมอีก?

13 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์ จึงกลับมาได้รับความนิยมอีก?
ความมั่นคงด้านพลังงาน ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ ต้นทุนการผลิต "ต่ำ" เทคโนโลยี "พัฒนาขึ้น" ปัจจัยด้านการเมืองโลก ความปลอดภัยและความมั่นคง การกำจัดกากของเสีย

14 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์จึงได้รับความนิยมอีก?
ความมั่นคงด้านพลังงาน ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ ต้นทุนการผลิต "ต่ำ" เทคโนโลยี "พัฒนาขึ้น" ปัจจัยด้านการเมืองโลก ความปลอดภัยและความมั่นคง การกำจัดกากของเสีย

15 ความมั่นคงพลังงาน: มีอะไรใหม่บ้าง
ความต้องการพลังงานคาดว่าจะเพิ่มเป็นสองเท่าจากปี 2003 ถึง 2030 เอเชียมีความต้องการพลังงานสูงสุด 1960 1970 1980 1990 2000 2010

16 การบริโภคพลังงานเพิ่มขึ้นทั่วโลก
การเพิ่มขึ้นของการบริโภคพลังงานในแต่ละปี การบริโภคพลังงานในตลาดพลังงานโลก Annual Growth of Energy Consumption การบริโภคพลังงานทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นสองเท่าระหว่างปี เอเชียมีความต้องการพลังงานสูงสุด “Prediction of energy consumption world-wide.” timeforchange.org. (2007)

17 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์จึงได้รับความนิยมอีก?
ความมั่นคงด้านพลังงาน ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ ต้นทุนการผลิต "ต่ำ" เทคโนโลยี "พัฒนาขึ้น" ปัจจัยด้านการเมืองโลก ความปลอดภัยและความมั่นคง การกำจัดกากของเสีย

18 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: มีอะไรใหม่บ้าง
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: มีอะไรใหม่บ้าง การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นความจำเป็นเร่งด่วนที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป 1960 1970 1980 1990 2000 2010

19 นิวเคลียร์ดีกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล...
การปล่อยมลภาวะทางอากาศของพลังงานชนิดต่าง ๆ ในสหรัฐฯ แหล่งพลังงาน คาร์บอนไดออก ไซด์ (lbs/MWh) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (lbs/MWh) ไนโตรเจนออกไซด์ (lbs/MWh) ก๊าซธรรมชาติ 1135 0.1 1.7 ถ่านหิน 2249 13 6 น้ำมัน 1672 12 4 พลังงานนิวเคลียร์ N “Air Emissions.” US Environmental Protection Agency (2007)

20 ...แต่เป็นเพียงหนึ่งในหลายทางเลือก
การปล่อยมลภาวะทางอากาศของพลังงานชนิดต่าง ๆ ในสหรัฐฯ แหล่งพลังงาน คาร์บอนไดออก ไซด์ (lbs/MWh) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (lbs/MWh) ไนโตรเจนออกไซด์ (lbs/MWh) ก๊าซธรรมชาติ 1135 0.1 1.7 ถ่านหิน 2249 13 6 น้ำมัน 1672 12 4 พลังงานนิวเคลียร์ N การจัดการการใช้ ไฟฟ้าพลังน้ำ แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ ชีวมวล N (วัฏจักรตามธรรมชาติ) ต่ำ ลม “Air Emissions.” US Environmental Protection Agency (2007)

21 นิวเคลียร์ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้น้อยที่สุด
การลดคาร์บอนไดออกไซด์ จำแนกตามประเภทเชื้อเพลิง (พยากรณ์สำหรับปี 2030 (2573) มาตรการด้านประสิทธิภาพพลังงานลดได้ 86% พลังงานนิวเคลียร์จะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้เพียง 10% เท่านั้น Source: “Nuclear: Pros and Cons” (2007) Data Source: International Energy Agency (IEA).

22 การลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล
แหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ ฃองโลกจำแนกตามเชื้อเพลิง นิวเคลียร์จะไม่สามารถทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ ทำไมถึงไม่ลงทุนในทางเลือกที่ทดแทนได้จริง? อดีต อนาคต “Nuclear: Pros and Cons” (2007)

23 นิวเคลียร์และฟอสซิลมักจะไปด้วยกัน?
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอเมริกาเหนือ มีการใช้งานร่วมกับโรงไฟฟ้าถ่านหิน โดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะ ต้องเดินเครื่องตลอดเวลา ไม่สามารถปิดเครื่องหรือเปิดเครื่องได้อย่างง่ายดาย สามารถผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐาน (ในปริมาณที่ตายตัว) เท่านั้น ต้องอาศัยพลังงานจากแหล่งเชื้อเพลิงอื่นมาผสมด้วยเพื่อให้เพียงพอกับช่วงความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ยกตัวอย่างในรัฐออนตาริโอ แคนาดา: เนื่องจากความสามารถในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลดลง เป็นเหตุให้ต้องผลิตเพิ่มจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน โรงงาน Crystal River 3 ในรัฐฟลอริดา สหรัฐฯ เตา 1, 2 (ด้านหน้า) และเตา 4, 5 (ด้านหลัง) เป็นโรงไฟฟ้าถ่านหิน เตาที่ 3 (ตรงกลาง) เป็นเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ “What Thai Citizens Should Know About Canada’s Nuclear Power Program.” Probe International (1999)

24 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์จึงได้รับความนิยมอีก?
ความมั่นคงด้านพลังงาน ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ ต้นทุนการผลิต "ต่ำ" เทคโนโลยี "พัฒนาขึ้น" ปัจจัยด้านการเมืองโลก ความปลอดภัยและความมั่นคง การกำจัดกากของเสีย

25 ต้นทุน: มีอะไรใหม่บ้าง
ปริมาณที่จำกัดและราคาที่เพิ่มขึ้นของเชื้อเพลิงฟอสซิล เป็นแรงผลักดันให้เกิดความสนใจในพลังงานทางเลือกมากขึ้น 1960 1970 1980 1990 2000 2010

26 ต้นทุนการผลิต กฟผ. : พลังงานนิวเคลียร์มีต้นทุนการผลิตต่ำสุดเมื่อเปรียบเทียบกับเชื้อเพลิงฟอสซิลและพลังงานหมุนเวียน แหล่งพลังงาน ต้นทุนการผลิต นิวเคลียร์ 2.08 ความร้อนจากถ่านหิน 2.12 พลังความร้อนร่วมจากก๊าซ 2.29 ความร้อนจากน้ำมัน 4.12 กังหันก๊าซ 7.93 แสงอาทิตย์ 20.20 กังหันลม 5.98 ขยะ/ของเสีย 4.63 ชีวมวล 2.63 EGAT “Power Development Plan” presentation at public hearing at Military club, April

27 พลังงานนิวเคลียร์ได้รับการอุดหนุนจากรัฐ
การวิจัยและพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์เกิดขึ้นจากงบประมาณของรัฐ แต่ไม่มีการนำมาคิดเป็นต้นทุนของการผลิตไฟฟ้าจากนิวเคลียร์ การวิจัยและพัฒนาพลังงานหมุนเวียนเกิดขึ้นจากงบประมาณของภาคเอกชนเกือบทั้งหมด และนำมาคิดรวมเป็นต้นทุนของการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงหมุนเวียน ตัวอย่างเช่นในสหรัฐฯ: เงินอุดหนุนของรัฐต่อการพัฒนาพลังงานในปี 2546 (สหรัฐฯ) “What Thai Citizens Should Know About Canada’s Nuclear Power Program.” Probe International (1999)

28 ต้นทุนยูเรเนียมจะเพิ่มขึ้น
ณ อัตราการบริโภคในปัจจุบัน: ทรัพยากร: สินแร่เกรดสูง ราคาถูก มีให้ใช้อีก: 50 ปี ทรัพยากร: สินแร่ทั่วไป มีให้ใช้อีก: 200 ปี 1 Wikipedia.org เหมืองยูเรเนียมในสหรัฐฯ ถ้ามีการผลิตพลังงานนิวเคลียร์เพิ่มขึ้น แหล่งแร่จะหมดลงรวดเร็วขึ้นและแร่จะมีราคาแพงขึ้น แร่ยูเรเนียมที่พบส่วนใหญ่เป็นแร่คุณภาพต่ำ การทำเหมืองเพี่อดึงแร่ยูเรเนียมมาใช้จะทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจกจำนวนมาก 2 1 Nuclear Agency, International Atomic Energy Agency “Uranium 2003: Resources, Production, Demand.” Paris: OECD. (2004) 2 van Leeuwen, Jan-Willem. “Can nuclear power provide energy for the future; would it solve the co2-emission problem?”, (2004)

29 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์จึงได้รับความนิยมอีก?
ความมั่นคงด้านพลังงาน ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ ต้นทุนการผลิต "ต่ำ" เทคโนโลยี "พัฒนาขึ้น" ปัจจัยด้านการเมืองโลก ความปลอดภัยและความมั่นคง การกำจัดกากของเสีย

30 เทคโนโลยี: มีอะไรใหม่บ้าง
เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ยุคใหม่ที่คาดว่าจะมี ความปลอดภัยและประสิทธิภาพดีกว่า ยังอยู่ในขั้นตอนการออกแบบวิจัยและพัฒนา 1960 1970 1980 1990 2000 2010

31 เทคโนโลยีนิวเคลียร์ขั้นสูง...
เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่นใหม่ จะมีประสิทธิภาพ ความสะอาด ความปลอดภัย และความสามารถเพิ่มขึ้น เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่นใหม่ รุ่นที่ 4 และ 5: Nuclear thermal rocket Gas-cooled reactor Molten-salt reactor “Nuclear Reactor Technology.” Wikipedia.org. (2007)

32 ...ยังเป็นเพียงแค่เทคโนโลยีบนกระดาษ
คาดว่าจะไม่มีการผลิตเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่นที่ 4 จนกว่าปี (การคาดการณ์แบบมองโลกในแง่ดี) เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่นที่ 5 ยังอยู่ในขั้นทฤษฎีเท่านั้น เตาปฏิกรณ์รุ่นใหม่ก็ยังไม่ปลอดจากปัญหาอยู่ดี 1 มีหลักฐานมากมายที่บ่งชี้ข้อบกพร่องและปัญหาของเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่นที่ 2 และ 3 ที่มีการเดินเครื่องอยู่ ยกตัวอย่างเช่น เทคโนโลยีนิวเคลียร์แบบ CANDU: 2 ท่อแรงดันของเตาปฏิกรณ์แบบนี้มีแนวโน้มที่จะแตกง่าย ระบบหล่อเย็นฉุกเฉินทำงานไม่สมบูรณ์ การดำเนินงานผิดพลาดทำให้แท่งเชื้อเพลิงเสียหาย 1 “Nuclear Power: Myth and Reality.” Heinrich Boll Foundation. Regional Office for Southern Africa. (2006) “What Thai Citizens Should Know About Canada’s Nuclear Power Program.” Probe International

33 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์จึงได้รับความนิยมอีก?
ความมั่นคงด้านพลังงาน ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ ต้นทุนการผลิต "ต่ำ" เทคโนโลยี "พัฒนาขึ้น" ปัจจัยด้านการเมืองโลก ความปลอดภัยและความมั่นคง การกำจัดกากของเสีย

34 เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์สามารถผลิตระเบิดได้
วัตถุที่สามารถนำมาใช้ทำระเบิดเป็นผลพลอยได้จากปฏิกิริยาในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์สองส่วน: การเพิ่มความเข้มข้นให้สารยูเรเนียม- ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ในการจัดเตรียมเชื้อเพลิงสำหรับเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ การแปรรูปเชื้อเพลิงใหม่ (Reprocessing) --โดยการนำแท่งเชื้อเพลิงใช้แล้วไปสกัดสารพลูโตเนียม สารพลูโตเนียมขนาดเท่าลูกเบสบอลสามารถผลิตระเบิดขนาดเดียวกับที่ใช้ถล่มเมืองนางาซาได้ “Nuclear Energy” Reaching Critical Will. (2001)

35 มายาคติของพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ
ข้อเท็จจริง 20 จาก 60 ประเทศที่อ้างว่าใช้พลังงานปรมาณู “เพื่อสันติ” มีการลักลอบวิจัยเพื่อผลิตอาวุธนิวเคลียร์ 1 ตัวอย่าง: โครงการพุทธสรวลของอินเดีย (Smiling Buddha) “การทดลองระเบิดนิวเคลียร์เพื่อสันติ” ตามโครงการที่ชื่อ “พุทธสรวล” ของอินเดียเมื่อปี 1974 เป็นตัวอย่างของมายาคตินี้ อินเดียสร้างเตาปฏิกรณ์เพื่อการวิจัยเลียนแบบจากเตาที่ได้รับบริจาคมา และมีการพัฒนาโรงงานแยกสารพลูโตเนียมด้วยตนเองเพื่อผลิตระเบิดนิวเคลียร์ นายกรัฐมนตรีปากีสถานตอบโต้ด้วยการให้สัญญาว่าจะผลิตระเบิดนิวเคลียร์ให้ได้ “แม้ว่าเราจะต้องกินแกลบ กินหญ้าหรือต้องหิวโหยต่อไปก็ตาม” 2 นายกรัฐมนตรีอินเดียตรวจเยี่ยมโรงงานนิวเคลียร์ 1 Green, Jim. No Solution to Climate Change. Friends of the Earth < “Canada blamed for India's 'peaceful' bomb.” CBC Archives (2006) <

36 IAEA (International Atomic Energy Agency) มีข้อจำกัดอย่างยิ่ง
มีอย่างน้อย 8 ประเทศซึ่งลงนามในสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (NPT) ที่มีโครงการผลิตอาวุธที่ละเมิดข้อตกลงดังกล่าว หรือมีกิจกรรมผลิตอาวุธที่ได้รับอนุญาต แต่ไม่มีการรายงานต่อIAEA ตัวอย่าง: อียิปต์ อิรัก ลิเบีย เกาหลีเหนือ โรมาเนีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน ยูโกสลาเวีย Green, Jim. No Solution to Climate Change. Friends of the Earth

37 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์จึงได้รับความนิยมอีก?
ความมั่นคงด้านพลังงาน ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ ต้นทุนการผลิต "ต่ำ" เทคโนโลยี "พัฒนาขึ้น" ปัจจัยด้านการเมืองโลก ความปลอดภัยและความมั่นคง การกำจัดกากของเสีย

38 ความปลอดภัยและความมั่นคง: มีอะไรใหม่บ้าง
ความปลอดภัยและความมั่นคง: มีอะไรใหม่บ้าง อุบัติเหตุนิวเคลียร์หลายร้อยครั้งยังเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ แม้จะมีขนาดเล็กกว่าที่เกิดในปี 1986 (2529) การก่อการร้ายด้วยอาวุธนิวเคลียร์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน มีการอ้างว่าเทคโนโลยีรุ่นใหม่จะให้ความมั่นคงปลอดภัยมากกว่า 1960 1970 1980 1990 2000 2010

39 อุบัติเหตุมากมาย อุบัติเหตุของโรงปฏิกรณ์นิวเคลียร์เชอร์เนบิลและเกาะทรีไมล์ เป็นที่รู้จักกันมากที่สุด นอกจากนั้นยังเกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์อีกเป็น 100 ครั้ง อาทิ เกิดอุบัติเหตุอย่างน้อย 8 ครั้งซึ่งสร้างความเสียหายหรือทำให้เกิดความผิดปรกติในการทำงานของแกนในเตาปฏิกรณ์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์หรือเตาปฏิกรณ์เพื่อการวิจัย เกิดอุบัติเหตุอย่างน้อย 5 ครั้งกับเตาปฏิกรณ์เพื่อการวิจัยซึ่งเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต ยังมีอุบัติเหตุร้ายแรงอีกหลายครั้ง ที่ไม่ได้เกิดจากความเสียหายหรือการทำงานผิดปรกติของอุปกรณ์หลัก และมีเหตุการณ์จำนวนมากที่เข้าข่าย “เกือบวิกฤต” เนื่องจากเตาปฏิกรณ์ไม่สมบูรณ์จากการบำรุงรักษาที่หย่อนยาน Green, Jim. No Solution to Climate Change. Friends of the Earth

40 อุบัติเหตุมากมาย โตไกมูระ ญี่ปุ่น ปี 1999: คนงานสองคนได้รับสารพิษกัมมันตรังสีจนถึงขั้นเสียชีวิต ในเวลาต่อมามีการเปิดเผยว่ามีการปรับแต่งข้อมูลอย่างจงใจจากการสำรวจเตาปฏิกรณ์หลายสิบเครื่อง ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการซ่อมแซมและการปิดเครื่องเป็นเวลานาน Sellafield, อังกฤษ ปี 2000: ผู้ตรวจการณ์ของรัฐบาลพบว่ามีการละเมิดข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยขั้นพื้นฐานอย่างรุนแรงในแหล่งที่มีการปรับแต่งสภาพเชื้อเพลิง David-Besse, สหรัฐฯ ปี 2002: เกิดการสึกกร่อนของท่อแรงดันสูงที่สำคัญจนเกือบทำให้แกนของเตาปฏิกรณ์หลอมละลายทั้งหมด Cruas-3, -4 , ฝรั่งเศส ปี 2003: น้ำท่วมทำให้เกิดความเสียหายและต้องปิดโรงงาน มิฮามา ญี่ปุ่น ปี 2004: การระเบิดของไอน้ำทำให้คนงานสองคนเสียชีวิต มิฮามา ญี่ปุ่น ปี 2006: โรงงานต้องปิดตัวลงเนื่องจากไม่สามารถต้านทานแผ่นดินไหวที่รุนแรงได้ นิอิกาตะ ญี่ปุ่น 2007: แผ่นดินไหวส่งผลให้เกิดไฟไหม้ในโรงไฟฟ้า PHOTO: Number 3 reactor after accident at the Mihama Nuclear plant in Japan. “Nuclear: Safety.” Greenpeace International (2006) /safety

41 การปล่อยสารกัมมันตรังสี
การปล่อยสารกัมมันตรังสีเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอในทุกขั้นตอนของกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ คณะกรรมการวิทยาศาสตร์ด้านผลกระทบจากสารกัมมันตรังสี สหประชาชาติ (1994) ประมาณการว่าปริมาณกัมมันตรังสีเฉลี่ยที่ประชากรโลกได้รับในช่วงเวลา 50 ปีของการเดินเครื่องเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ อยู่ที่ระดับ 2 ล้าน person-Sieverts (หน่วยวัดผลกระทบด้านชีวภาพจากกัมมันตรังสี) เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานความเสี่ยง พบว่า ปริมาณการรับรังสีดังกล่าว เทียบเท่ากับการเพิ่มจำนวน ผู้เสียชีวิตเนื่องจากมะเร็งถึง 80,000 ราย กรณีเชอร์โนบิล: หากใช้มาตรฐานความเสี่ยงเดียวกัน สารกัมมันตรังสีที่ปล่อยจากเชอร์โนบิล คิดเป็นเหตุให้เกิด ผู้เสียชีวิตเนื่องจากมะเร็ง 24,000 ราย ทำให้มีผู้อพยพโยกย้ายอย่างถาวรถึง 220,000 คนในประเทศเบลารุส สหพันธรัฐรัสเซียและยูเครน เตาปฏิกรณ์เชอร์โนบิลหมายเลข 4 หลังอุบัติเหตุ Green, Jim. No Solution to Climate Change. Friends of the Earth

42 การโจมตีของผู้ก่อการร้ายและการโจมตีด้วยอาวุธทั่วไป
มีการใช้อาวุธทั่วไปเพื่อโจมตีโรงงานนิวเคลียร์หลายแห่งในหลายประเทศ. อิหร่าน อิสราเอลและสหรัฐฯ เคยทิ้งระเบิดโรงงานนิวเคลียร์ในอิรัก อิรักเคยทิ้งระเบิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของอิหร่านในช่วงทศวรรษ 1980 อิรักอ้างว่าเคยมีเป้าหมายที่จะใช้ขีปนาวุธสกั๊ดทำลายโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทีDimona ของอิสราเอลในปี 1991 (2534) ผู้ก่อการร้ายสามารถจู่โจมในระหว่างการขนส่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ สามารถบุกเข้าไปในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และสามารถระเบิดทำลายแหล่งเก็บกากนิวเคลียร์เพื่อให้สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายไปทั่ว Barnaby, Frank and James Kemp. Too Hot to Handle? The Future of Civil Nuclear Power. United Kingdom: Oxford Research Group, 2007: 14

43 การลักลอบขนย้ายเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
จากฐานข้อมูลการลักลอบขนย้ายขององค์การ IAEA พบว่ามีการลักลอบขนย้ายสารกัมมันตรังสีมากกว่า 650 ครั้ง ตั้งแต่ปี 1993 (2536) เป็นต้นมา มีการลักลอบขนย้ายสารกัมมันตรังสี 100 ครั้งในปี การลักลอบขนย้ายสารกัมมันตรังสีอาจนำไปสู่การจัดหาสารนิวเคลียร์เพื่อการผลิตอาวุธและสารกัมมันตรังสีซึ่งใช้ผลิตระเบิดนิวเคลียร์ขนาดเล็ก (dirty bombs) ประเทศไทย: การจับกุมการขนย้ายสารซีเซียม 2003 13 มิ.ย. 2003: มีการจับกุมคนไทยที่กรุงเทพ ซึ่งพยายามขายสาร cesium 137 จำนวน 30 กก. ให้กับตำรวจนอกเครื่องแบบ ซึ่งสาร Cesium 137 ในปริมาณดังกล่าวสามารถนำมาใช้ทำระเบิดนิวเคลียร์ขนาดเล็กได้ (dirty bombs) 2 1 El Baradei, Mohamed. “Nuclear Terrorism: Identifying and Combating the Risks”, March 16, 2005 < 2 Andreoni, Alessandro and Charles D. Ferguson. Radioactive Cesium Seizure in Thailand: Riddled with Uncertainties. James Martin Center for Nonproliferation Studies: July

44 ไม่มีช่องว่างสำหรับความผิดพลาด
อาวุธนิวเคลียร์ที่มีพลานุภาพทำลายเมืองทั้งเมือง ประกอบขึ้นได้จากสารพลูโตเนียมจำนวน 10 กก.เท่านั้น ที่ผ่านมาอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ได้ผลิตสารพลูโตเนียมถึง 1,600 ตัน (Institute for Science and International Security, 2004) ซึ่งมากพอสำหรับการผลิตอาวุธนิวเคลียร์ 160,000 ลูก แม้จะมีการคุ้มครองไม่ให้สารพลูโตเนียม 99% รั่วไหลไปได้ แต่หากมีการเล็ดลอดแม้เพียง 1% ก็มากพอแล้วสำหรับผลิตอาวุธนิวเคลียร์ 1,600 ลูก Institute for Science and International Security, “Civil Plutonium Produced in Power Reactors” (2004) <

45 เหตุใดพลังงานนิวเคลียร์จึงได้รับความนิยมอีก?
ความมั่นคงด้านพลังงาน ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ ต้นทุนการผลิต "ต่ำ" เทคโนโลยี "พัฒนาขึ้น" ปัจจัยด้านการเมืองโลก ความปลอดภัยและความมั่นคง การกำจัดกากของเสีย

46 การกำจัดกากของเสีย: มีอะไรใหม่บ้าง
การกำจัดกากของเสีย: มีอะไรใหม่บ้าง ไม่มีอะไรใหม่เลย 1960 1970 1980 1990 2000 2010

47 มลภาวะจากกระบวนการวงจรเชื้อเพลิง
การทำเหมืองและการแต่งแร่ยูเรเนียมทำให้เกิดกากโคลนกัมมันตรังสี เชื้อเพลิงใช้แล้วประกอบด้วยสารกัมมันตรังสี การนำเชื้อเพลิงใช้แล้วมาแปรรูปใหม่ทำให้เกิดกากกัมมันตรังสี ณ ปี 2543 อุตสาหกรรมนิวเคลียร์ได้ผลิตกากกัมมันตรังสีระดับเข้มข้นมากถึง 201,000 ตัน เราต้องหาทางจัดเก็บกากเหล่านี้อย่างปลอดภัย นานถึง 10, ,000 ปี “Nuclear Energy” Reaching Critical Will. (2001)

48 ไม่มีทางออกในระยะยาวสำหรับกากนิวเคลียร์
ไม่มีแหล่งจัดเก็บถาวรแม้แต่แหล่งเดียวในโลกที่สามารถใช้เป็นที่ทิ้งกากนิวเคลียร์ที่มีความเข้มข้นสูงได้ มีเพียงไม่กี่ประเทศที่ได้หาแหล่งเก็บกากนิวเคลียร์ที่เป็นไปได้ จากการศึกษาของสถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาจูเส็ต (MIT): สภาพการณ์: ถ้าการผลิตพลังงานนิวเคลียร์ในโลกเพิ่มขึ้น 3 เท่า ผลลัพธ์: เราจะต้องหาแหล่งเก็บกากนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่เท่ากับภูเขา Yucca ทุกๆ 3-4 ปี ภูเขา Yucca ในสหรัฐฯ (ซึ่งมีการเสนอให้เป็นแหล่งเก็บกากนิวเคลียร์) John Deutch and Ernest J. Moniz et al, The Future of Nuclear Power: An Interdisciplinary MIT Study, Cambridge, MA: MIT, 2003.

49 ความเป็นมาของพลังงาน
นิวเคลียร์ในไทย 1960 1970 1980 1990 2000 2010

50 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1966 กฟผ.เสนอโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกของไทย “Thailand’s Nuclear Program: ” WISE News Communique (1997)

51 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ ชะงักงัน 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1974 โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อ่าวไผ่ ชลบุรีขนาด MW ได้รับอนุมัติ “Thailand’s Nuclear Program: ” WISE News Communique (1997)

52 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
ชะงักงัน ล้มเหลว 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1974 โครงการพับไปเนื่องจากราคาก๊าซธรรมชาติลดลง “Thailand’s Nuclear Program: ” WISE News Communique (1997)

53 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ ชะงักงัน ล้มเหลว 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1977 กฟผ. ฟื้นโครงการขึ้นมาใหม่และรัฐบาลอนุมัติ “Thailand’s Nuclear Program: ” WISE News Communique (1997)

54 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
ล้มเหลว ชะงักงัน ล้มเหลว 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1977 แรงต่อต้านจากทั่วโลกและในไทยทำให้ต้องยกเลิกโครงการ “Thailand’s Nuclear Program: ” WISE News Communique (1997)

55 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
ล้มเหลว การผลักดันนิวเคลียร์ ชะงักงัน ล้มเหลว 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1993 สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) เสนอโครงการก่อสร้างเตาปฏิกรณ์เพื่อการวิจัย (5-10 มว.) ที่อ.องครักษ์ “Thailand’s Nuclear Program: ” WISE News Communique (1997)

56 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
ล้มเหลว องครักษ์ “ความล้มเหลว” ชะงักงัน ล้มเหลว 1960 1970 1980 1990 2000 2010 แผนก่อสร้างที่องครักษ์ต้องชะงักลงหลายครั้งเนื่องจากปัญหาความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม1 บริษัท General Atomics จากสหรัฐฯ ได้รับสัญญาให้ก่อสร้าง และขู่ว่าจะดำเนินการทางกฎหมายถ้ามีการชะลอโครงการ2 1 “Thailand’s Nuclear Program: ” WISE News (1997) 2 “Thailand: The Final Countdown” WISE/NIRS (2002)

57 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
ล้มเหลว องครักษ์ “ความล้มเหลว” การผลักดันนิวเคลียร์ ชะงักงัน ล้มเหลว 1960 1970 1980 1990 2000 2010 2007 แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า (PDP) เสนอให้มีการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ภายในปี 2020 (2563) โดยให้กฟผ.ลงทุน 6,000 ล้านเหรียญเพื่อก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาด 4,000 มว. “Thailand To Build First นิวเคลียร์ Plant.” Energy Daily (2007)

58 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การเมือง 1960 1970 1980 1990 2000 2010

59 มีความเชื่อมโยงระหว่างพลังงานนิวเคลียร์กับทหารในไทยหรือไม่?
แนวโน้มในประเทศไทย ความเป็นมาด้านการเมืองและนิวเคลียร์ 1960 1970 1980 1990 2000 2010

60 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การเมือง สงครามเย็น, การแทรกแซงจากสหรัฐฯ, รัฐบาลทหาร 1960 1970 1980 1990 2000 2010 รัฐบาลทหารนำโดยถนอม-ประภาส David Wyatt, “Thailand: A short history” 1984, p 286.

61 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ รัฐประหาร การเมือง สงครามเย็นรัฐบาลทหาร 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1976 รัฐประหารภายหลังเหตุการณ์สังหารหมู่ 6 ตุลา รัฐบาลนายธานินทร์ กรัยวิเชียรขึ้นบริหารงาน “History of Thailand since 1973.” Wikipedia.org (2007)

62 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ รัฐประหาร การเมือง สงครามเย็น รัฐบาลทหาร 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1977 รัฐประหารนำโดยพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ “History of Thailand since 1973.” Wikipedia.org (2007)

63 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ รัฐประหาร รัฐประหาร การเมือง สงครามเย็นรัฐบาลทหาร 1960 1970 1980 1990 2000 2010 1991 รัฐประหารนำโดยพลเอกสุนทรและสุจินดา เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ การใช้กำลังทหารปราบปรามผู้ประท้วงต่อต้านสุจินดาที่ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกฯ มีการแต่งตั้งรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุนเพื่อเป็นรัฐบาลชั่วคราว “History of Thailand since 1973.” Wikipedia.org (2007)

64 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ การผลักดันนิวเคลียร์ รัฐประหาร รัฐประหาร รัฐประหาร การเมือง สงครามเย็นรัฐบาลทหาร 1960 1970 1980 1990 2000 2010 2006 รัฐประหารนำโดยสนธิ บุญรัตนกลิน มีการแต่งตั้งพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นนายกฯ “History of Thailand since 1973.” Wikipedia.org (2007)

65 พลังงานนิวเคลียร์ในไทย
การผลักดันนิวเคลียร์ 4,000 มว. การผลักดันนิวเคลียร์ 5-10 มว. เตาปฏิกรณ์แบบวิจัย การผลักดันนิวเคลียร์ <500 มว. การผลักดันนิวเคลียร์ รัฐประหาร รัฐประหาร รัฐประหาร การเมือง สงครามเย็น รัฐบาลทหาร 1960 1970 1980 1990 2000 2010 “Thailand To Build First Nuclear Plant.” (2007) “Thailand’s Nuclear Program: ” WISE. (1997)


ดาวน์โหลด ppt ประเทศไทยควรพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์หรือ? ข้อพิจารณาและต้นทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google