งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ค่า K (ESCALATION FACTOR)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ค่า K (ESCALATION FACTOR)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ค่า K (ESCALATION FACTOR)
สำหรับสัญญาแบบปรับราคาได้ ในการประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้าง

2 ค่า K คืออะไร “ค่า K” หรือ ESCALATION FACTOR คือ ตัวเลขดัชนีที่ใช้วัด การเปลี่ยนแปลงของค่างาน ณ ระยะเวลาที่ผู้รับเหมาก่อสร้างเปิดซองประกวดราคาได้ เปรียบเทียบกับระยะเวลาที่ส่งงานในแต่ละงวด วันที่เปิดซอง ระยะเวลาก่อสร้าง วันที่ส่งงาน (แต่ละงวด)

3 เงื่อนไข การใช้ค่า K จะใช้ "ค่า K" ได้เฉพาะในกรณีที่ผู้รับเหมารับงานจาก ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นที่มีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่นเท่านั้น ในการทำสัญญาว่าจ้าง คู่สัญญาจะต้องระบุในสัญญาให้ชัดเจนว่า เป็นสัญญาแบบปรับราคาได้ในการประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้าง

4 ใครได้ประโยชน์จากค่า K
“ผู้รับจ้าง” ช่วยลดความเสี่ยงของผู้รับเหมา กรณีที่ได้รับ ความเดือดร้อนจากวัสดุก่อสร้างมีราคาสูงขึ้น โดยให้ได้รับการชดเชย ในส่วนของผลต่างราคาวัสดุก่อสร้าง ณ วันที่ประกวดราคาได้ เทียบกับวันส่งมอบงานในแต่ละงวด “ผู้ว่าจ้าง” เป็นเครื่องมือป้องกันมิให้ผู้รับเหมาเอาเปรียบ โดยการบวกราคาวัสดุก่อสร้างเผื่อการเปลี่ยนแปลงไว้ล่วงหน้ามากจนเกินไป

5 จะใช้ค่า K ตอนไหน วันที่ส่งงานแต่ละงวด จะต้องคำนวณ "ค่า K" โดยใช้สูตรตามประเภทงานก่อสร้าง ณ เดือนที่ส่งมอบงาน เทียบกับ "ค่า K" เดือนที่เปิดซองประกวดราคา ถ้าการเปลี่ยนแปลงของ "ค่า K" แต่ละงวดงานมีค่ามากกว่าร้อยละ 4 (หรือ 1.04) ผู้รับเหมาจึงจะสามารถนำ "ค่า K" ไปเรียกร้องขอรับเงินชดเชยได้ แต่ขณะเดียวกัน หาก "ค่า K" ของแต่ละงวดงานมีค่าน้อยกว่าร้อยละ 4 (หรือ 0.96) ผู้จ้างเหมาก็จะเรียกค่างานคืนจากผู้รับเหมาในส่วนที่ราคาวัสดุก่อสร้างลดลง โดยอาจใช้วิธีการหักเงินค่างานในงวดถัดไป หรือหักเงินจากหลักประกันสัญญาแล้วแต่กรณี

6 จะใช้ค่า K ตอนไหน วันส่งงวดงาน คำนวณค่า K ค่า < 0.96
ผู้รับจ้าง (เอกชน) จะสามารถเรียกร้องค่าชดเชยจากผู้ว่าจ้าง (รัฐ) ได้ ภายใน 90 วัน นับตั้งแต่วันส่งมอบงานงวดสุดท้าย หากพ้นกำหนด จะเรียกร้องอะไรผู้ว่าจ้างไม่ได้ ค่า < 0.96 ค่าระหว่าง 0.96 ถึง 1.04 ค่า > 1.04 จ่ายส่วนต่างคืนผู้ว่าจ้าง จ่ายค่าจ้าง ตามสัญญา ชดเชยส่วนต่างให้ผู้รับจ้าง

7 การพิจารณาปรับค่างานจ้าง
ใช้สูตร P = (Po) x (K) โดย P = ค่างานต่อหน่วย/ค่างานเป็นงวด ที่ต้องจ่ายผู้รับจ้าง Po = ค่างานต่อหน่วย/ค่างานเป็นงวด ที่ระบุในสัญญา Ko = ค่า Escalation Factor ที่หัก 4% (เพิ่มค่างาน) หรือ บวกเพิ่ม 4% (เรียกเงินคืน)

8 จะคำนวณค่า K อย่างไร ค่า K มี 5 ประเภท มีสูตรที่ใช้คำนวณ 35 สูตร (1) งานอาคาร 1 สูตร (2) งานดิน 3 สูตร (3) งานทาง 7 สูตร (4) งานชลประทาน 7 สูตร (5) งานระบบสาธารณูปโภค 17 สูตร

9 สูตร งานอาคาร (1 สูตร) งานอาคาร ใช้สูตร
K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So

10 สูตร งานดิน (3 สูตร) งานดิน ใช้สูตร
K = It/Io Et/Eo Ft/Fo งานหินเรียง ใช้สูตร K = It/Io Mt/Mo Ft/Fo งานเจาะระเบิดหิน ใช้สูตร K = It/Io Mt/Mo Et/Eo Ft/Fo

11 สูตร งานทาง (7 สูตร) ผิวทาง PC, TC, SC ใช้สูตร ผิวทาง ST ใช้สูตร
K = At/Ao Et/Eo Ft/Fo ผิวทาง ST ใช้สูตร K = Mt/Mo At/Ao Et/Eo Ft/Fo ผิวทาง AC, PM ใช้สูตร K = Mt/Mo At/Ao Et/Eo Ft/Fo

12 สูตร งานทาง (7 สูตร) (ต่อ)
ผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็ก ใช้สูตร K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So ท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ใช้สูตร K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So โครงสร้าง ค.ส.ล. และเขื่อนกันตลิ่ง ใช้สูตร K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So โครงสร้างเหล็ก ใช้สูตร K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So

13 สูตร งานชลประทาน (7 สูตร)
งานอาคารชลประทาน ไม่รวมบานเหล็ก ใช้สูตร K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So งานอาคารชลประทาน รวมบานเหล็ก ใช้สูตร K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So งานบานระบาย ใช้สูตร K = It/Io Gt/Go

14 สูตร งานชลประทาน (7 สูตร) (ต่อ)
งานเหล็กเสริมคอนกรีต ใช้สูตร K = It/Io St/So งานคอนกรีตไม่รวมเหล็ก ใช้สูตร K = It/Io Ct/Co Mt/Mo งานเจาะ ใช้สูตร K = It/Io Mt/Mo Et/Eo Ft/Fo งานฉีดอัดน้ำปูน K = Ct/Co

15 สูตร งานระบบสาธารณูปโภค (17 สูตร)
งานวางท่อ AC / PVC ผู้ว่าจ้างหาวัสดุให้ K = It/Io Mt/Mo ผู้รับจ้างหาวัสดุ AC เอง K = It/Io Mt/Mo ACt/ACo ผู้รับจ้างหาวัสดุ PVC เอง K = It/Io Mt/Mo PVCt/PVCo

16 สูตร งานระบบสาธารณูปโภค (17 สูตร) (ต่อ)
งานวางท่อเหล็กเหนียว / HDPE ผู้ว่าจ้างหาวัสดุให้ K = It/Io Mt/Mo Et/Eo Ft/Fo ผู้รับจ้างหาวัสดุ ท่อเหล็กเหนียว เอง K = It/Io Mt/Mo GIPt/GIPo ผู้รับจ้างหาวัสดุ HDPE เอง K = It/Io Mt/Mo PEt/PEo

17 สูตร งานระบบสาธารณูปโภค (17 สูตร) (ต่อ)
งานอุโมงค์ส่งน้ำ ใช้สูตร K = It/Io Et/Eo GIPt/GIPo งานวางท่อ PVC หุ้มคอนกรีต ใช้สูตร K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So PVCt/PVCo งานวางท่อ PVC กลบทราย ใช้สูตร K = It/Io Mt/Mo PVCt/PCo งานวางท่อเหล็กอาบสังกะสี ใช้สูตร K = It/Io GIPt/GIPo

18 สูตร งานระบบสาธารณูปโภค (17 สูตร) (ต่อ)
ใช้เฉพาะการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ) มี 5 สูตร ใช้เฉพาะการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ) มี 2 สูตร

19 K = 0.25 + 0.15 It/Io + 0.10 Ct/Co + 0.40 Mt/Mo + 0.10 St/So
ตัวแปร ค่าดัชนีราคา K = It/Io Ct/Co Mt/Mo St/So It/Io o = ค่าดัชนีในเดือนที่เปิดซอง t = ค่าดัชนีในเดือนที่ส่งงาน

20 ค่าดัชนีราคา I = ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศ C = ดัชนีราคาซีเมนต์ M = ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (ไม่รวมเหล็กและซีเมนต์) S = ดัชนีราคาเหล็ก G = ดัชนีราคาเหล็กแผ่นเรียบที่ผลิตในประเทศ A = ดัชนีราคาแอสฟัลท์ E = ดัชนีราคาเครื่องจักรกลและบริภัณฑ์ F = ดัชนีราคาน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว AC = ดัชนีราคาท่อซีเมนต์ใยหิน PVC = ดัชนีราคาท่อ PVC GIP = ดัชนีราคาท่อเหล็กอาบสังกะสี PET = ดัชนีราคาท่อ HDPE W = ดัชนีราคาสายไฟฟ้า

21 หาค่าดัชนี จากที่ไหน? เว็บไซต์ ของ สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

22 ค่าดัชนี ปี 2558

23 ทดลองคำนวณค่า K


ดาวน์โหลด ppt ค่า K (ESCALATION FACTOR)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google